1 / 53

การควบคุมกระบวนการผลิต โดยใช้ไมโครคอมพิวเตอร์

การควบคุมกระบวนการผลิต โดยใช้ไมโครคอมพิวเตอร์. บทนำ. ระบบควบคุมการปรับระดับของน้ำในถังแบบง่าย. ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ควบคุมงานผลิต. ในงานอุตสาหกรรม จะต้องควบคุมกระบวนการผลิตทำงานโดยอัตโนมัติ อาศัยระบบควบคุม ( Controller ) ที่มีประสิทธิภาพสูง ประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานควบคุม.

gates
Download Presentation

การควบคุมกระบวนการผลิต โดยใช้ไมโครคอมพิวเตอร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การควบคุมกระบวนการผลิตการควบคุมกระบวนการผลิต โดยใช้ไมโครคอมพิวเตอร์

  2. บทนำ ระบบควบคุมการปรับระดับของน้ำในถังแบบง่าย

  3. ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ควบคุมงานผลิตซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ควบคุมงานผลิต • ในงานอุตสาหกรรม จะต้องควบคุมกระบวนการผลิตทำงานโดยอัตโนมัติ • อาศัยระบบควบคุม ( Controller ) ที่มีประสิทธิภาพสูง • ประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานควบคุม

  4. การควบคุมกระบวนการผลิตการควบคุมกระบวนการผลิต แบบอัตโนมัติ ค่าตัวแปรที่ต้องการ ส่วนควบคุม กระบวนการ ระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนวัดค่าตัวแปร

  5. การควบคุมกระบวนการผลิตการควบคุมกระบวนการผลิต โดยใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ กระบวนการผลิต ค่าตัวแปรที่ใช้เพื่อส่งผล กลับมาควบคุม (feedback) อุปกรณ์ควบคุม อุปกรณ์แปลงสัญญาณ ข้อมูลเปรียบเทียบ อุปกรณ์แปลงสัญญาณ อะนาล๊อก เป็นดิจิตอล อุปกรณ์แปลงสัญญาณ ดิจิตอลเป็นอะนาล๊อก ระบบคอมพิวเตอร์

  6. Process Control อุปกรณ์หลัก ๆ คือ • อุปกรณ์แปลงสัญญาณจากตัวแปรให้เป็นสัญญาณทางไฟฟ้า (ทรานสดิวเซอร์ • อุปกรณ์ A/D และ อุปกรณ์ D/A • อุปกรณ์เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ภายนอกกับคอมพิวเตอร์ (I/O port ) • อุปกรณ์ควบคุม ซึ่งรับสัญญาณจากคอมพิวเตอร์แล้วส่งไปควบคุมกระบวนการผลิต

  7. อุปกรณ์แปลงสัญญาณจากตัวแปรให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าอุปกรณ์แปลงสัญญาณจากตัวแปรให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า การควบคุมกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมนั้น สิ่งจำเป็นที่สุด คือ “ ข้อมูล ” ค่าความร้อน (อุณหภูมิ) ค่าทางแสง (ความเข้ม) ค่าทางเสียง (ความดัง ความถี่) การเปลี่ยแปลงความเร็ว การเปลี่ยนแปลงตำแหน่ง ( สัญญาณทางฟิสิกส์ ) ข้อมูลเหล่านี้จะถูกแปลงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าโดยอุปกรณ์ที่เรียกว่า ทรานสดิวเซอร์

  8. ทรานสดิวเซอร์ อุปกรณ์ที่ใช้ในการเปลี่ยนคุณสมบัติทางฟิสิกส์เป็นสัญญาณทางไฟฟ้า ไมโครโฟน เทอร์โมคับเปิล ฯลฯ 1. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อน ( Thermal Transducer) 2. ทรานสดิวเซอร์ทางกล ( Mechanical Transducer) 2. ทรานสดิวเซอร์ทางแสง ( Optical Transducer)

  9. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อน ( Thermal Transducer) การวัดค่าอุณหภูมินั้นสามารถทำได้หลายแบบ สุดแม้แต่ความเหมาะสม ทั้งนี้มักใช้หลักการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของสาร แบ่งออกดังนี้ 1. อุปกรณ์วัดอุณหภูมิที่อาศัยการเปลี่ยนแปลงความต้านทานไฟฟ้าของโลหะ 2. RTD 3. เทอร์มิสเตอร์ 4. IC Sensor 5. เทอร์คัพเปิล 6. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อนชนิดอื่น ๆ

  10. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อน ( Thermal Transducer) 1. อุปกรณ์วัดอุณหภูมิที่อาศัยการเปลี่ยนแปลงความต้านทานไฟฟ้าของโลหะ มักจะพิจารณาการเปลี่ยนแปลงค่าความต้านทานทางไฟฟ้าของสาร เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไปทั้งนี้จะต้องรอให้สารนั้นถึงจุดสมดุลทางความร้อน ( Thermal Equilibrium )

  11. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อน ( Thermal Transducer) 2. RTD ( Resistance Temperature Detector ) ใช้หลักการของความต้านทานไฟฟ้าในโลหะ เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ โลหะที่ใช้มีตั้งแต่พลาตินั่ม ซึ่งให้ค่าที่มีความละเอียดและถูกต้องสูงแต่ราคาสูง จนถึงนิกเกิล ซึ่งให้ค่าที่ไม่ถูกต้องนัก แต่ราคาถูก

  12. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อน ( Thermal Transducer) 2. RTD ( Resistance Temperature Detector ) RTD ที่นิยมใช้ มีค่าขนาด 10 โอห์ม จนถึง 1000 โอห์ม แต่ที่นิยมใช้กันมาก คือ ขนาด 100 โอห์ม ที่ 0 องศา C

  13. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อน ( Thermal Transducer) 3. เทอร์มิสเตอร์ ( Thermisters ) อาศัยหลักการวัดอุณหภูมิ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความต้านทานไฟฟ้าของวัสดุ ประเภทสารกึ่งตัวนำ ( Semiconductor ) สารกึ่งตัวนำจะนำไฟฟ้าได้ดี เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น

  14. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อน ( Thermal Transducer) 3. เทอร์มิสเตอร์ ( Thermisters ) สารกึ่งตัวนำที่นำมาทำ Thermister ได้แก่ ไททาเนียมออกไซด์ เหล็กออกไซด์ นิเกลออกไซด์ สารพวกนี้ไวต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ โดยการเปลี่ยนแปลงความต้านทานอยู่ในช่วง -2 ถึง -6 ต่อองศา C

  15. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อน ( Thermal Transducer) 3. เทอร์มิสเตอร์ ( Thermisters ) ใช้ Thermisters ที่นิยมใช้กันมากจะมีค่า 5000 โอห์มที่ 250C

  16. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อน ( Thermal Transducer) 3. เทอร์มิสเตอร์ ( Thermisters ) ข้อเสียของ Thermister คือ การเปลี่ยนแปลงความต้านทานไฟฟ้าของอุณภูมิถ้าสูงเกินไปอาจเสียสภาพได้ ปกติอุณหภูมิที่ใช้กันมากคือ 2000C

  17. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อน ( Thermal Transducer) 4. IC Sensor (Integrated Circuit Temperature Sensor) เป็นอุปกรณ์ที่สร้างขึ้นจากสารตัวนำ

  18. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อน ( Thermal Transducer) 4. IC Sensor (Integrated Circuit Temperature Sensor)

  19. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อน ( Thermal Transducer) 5. เทอร์โมคับเปิล ( Thermocouple ) เป็นการพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงความต้านทานทางไฟฟ้าของสาร ซึ่งขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ซึ่งมีคุณสมบัติ คือ การที่สารสามารถกำเนิดแรงดันไฟฟ้าซึ่งจะมีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิ มีลักษณะเป็นเชิงเส้นจึงถูกนำไปประยุกต์ใช้ในการวัดอุณหภูมิ เรียกปรากฏการณ์ดังกล่าวว่า Thermoelectric Effect

  20. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อน ( Thermal Transducer) 5. เทอร์โมคับเปิล ( Thermocouple ) เทอร์โมคับเปิล ที่ใช้กันอยู่ทั่วไป ประกอบด้วยธาตุผสม โดยมีการกำหนดประเภทและช่วงอุณหภูมิที่เหมาะกับการอ่าน แต่ละชนิดก็เหมาะสำหรับงานแต่ละประเภท

  21. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อน ( Thermal Transducer) • 6. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อนชนิดอื่น • Bimetal Strips • Gas Thermometer

  22. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อน ( Thermal Transducer) • 6. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อนชนิดอื่น • Bimetal Strips อาศัยคุณสมบัติการขยายตัวของโลหะเมื่อได้รับความร้อน มีราคาถูก แต่อ่านค่าได้ไม่ละเอียด ตอบสนองต่ออุณหภูมิช้า ปกติมักจะใช้ปิด/เปิดสวิตช์

  23. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อน ( Thermal Transducer) • 6. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อนชนิดอื่น • Bimetal Strips

  24. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อน ( Thermal Transducer) • 6. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อนชนิดอื่น • Gas Thermometer อาศัยกฎของก๊าซ คือ หากก๊าซเก็บไว้ในที่บรรจุซึ่งมีปริมาตรคงที่ แค่ความดันและอุณหภูมิต่างกันพบว่า อัตราส่วนระหว่างความดันกับอุณหภูมิจะเป็นค่าคงที่

  25. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อน ( Thermal Transducer) • 6. ทรานสดิวเซอร์ทางความร้อนชนิดอื่น • Gas Thermometer

  26. ทรานสดิวเซอร์ทางกล ( Mechanical Transducer) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้วัดปรากฏการณ์ทางกลศาสตร์ เช่น การเคลื่อนที่ของวัตถุ การเปลี่ยนความเร็ว การไหลของน้ำ ฯลฯ 1. ทรานสดิวเซอร์ที่ใช้วัดการเปลี่ยนตำแหน่ง 2. ทรานสดิวเซอร์ที่ใช้สำหรับวัดความเครียด 3. ทรานสดิวเซอร์ที่ใช้วัดความดันและระดับ

  27. ทรานสดิวเซอร์ทางกล ( Mechanical Transducer) 1. ทรานสดิวเซอร์ที่ใช้วัดการเปลี่ยนตำแหน่ง • บอกตำแหน่งของวัสดุบนสายพาน • วัดระดับของของเหลว / ของแข็ง • บอกตำแหน่งของชิ้นงานในการกลึงด้วยระบบอัตโนมัติ • วัดการเปลี่ยนตำแหน่งเนื่องจากความดัน 1.1 อาศัยหลักของการเปลี่ยนแปลงความต้านทาน เมื่อตำแหน่งเปลี่ยน 1.2 อาศัยหลักการเปลี่ยนแปลงความจุไฟฟ้าและความเหนี่ยวนำ

  28. ทรานสดิวเซอร์ทางกล ( Mechanical Transducer) 1. ทรานสดิวเซอร์ที่ใช้วัดการเปลี่ยนตำแหน่ง 1.1 อาศัยหลักของการเปลี่ยนแปลงความต้านทาน เมื่อตำแหน่งเปลี่ยน เป็นอุปกรณ์ที่ใช้วัดการเปลี่ยนแปลงของตำแหน่ง ซึ่งจะเปลี่ยนการเคลื่อนที่หรือการหมุนไปเป็นการเปลี่ยนแปลงของความต้านทาน ซึ่งอาจแปลงให้เป็นการเปลี่ยนแปลงของแรงดันไฟฟ้าหรือกระแสไฟฟ้า มักมีปัญหาด้านการสึกหรอ มีสัญญาณรบกวนมาก ตัวอย่างเช่นทรานสดิวเซอร์ในกลุ่มนี้คือ Potentionmeter

  29. ทรานสดิวเซอร์ทางกล ( Mechanical Transducer) 1. ทรานสดิวเซอร์ที่ใช้วัดการเปลี่ยนตำแหน่ง 1.1 อาศัยหลักของการเปลี่ยนแปลงความต้านทาน เมื่อตำแหน่งเปลี่ยน Potentionmeter การควบคุม Potentionmeter

  30. ทรานสดิวเซอร์ทางกล ( Mechanical Transducer) 1. ทรานสดิวเซอร์ที่ใช้วัดการเปลี่ยนตำแหน่ง 1.2 อาศัยหลักการเปลี่ยนแปลงความจุไฟฟ้าและความเหนี่ยวนำ ใช้วัดการเปลี่ยนตำแหน่งโดยใช้หลักการของตัวเก็บประจุ และการเหนี่ยวนำแบ่งเป็น 2 ชนิด 1.2.1 ใช้หลักการของตัวเก็บประจุ 1.2.2 ใช้หลักการของการเหนี่ยวนำ

  31. ทรานสดิวเซอร์ทางกล ( Mechanical Transducer) 1. ทรานสดิวเซอร์ที่ใช้วัดการเปลี่ยนตำแหน่ง 1.2 อาศัยหลักการเปลี่ยนแปลงความจุไฟฟ้าและความเหนี่ยวนำ 1.2.1 ใช้หลักการของตัวเก็บประจุ

  32. ทรานสดิวเซอร์ทางกล ( Mechanical Transducer) 1. ทรานสดิวเซอร์ที่ใช้วัดการเปลี่ยนตำแหน่ง 1.2 อาศัยหลักการเปลี่ยนแปลงความจุไฟฟ้าและความเหนี่ยวนำ 1.2.2 ใช้หลักการของการเหนี่ยวนำ

  33. 10 10 10 9 ทรานสดิวเซอร์ทางกล ( Mechanical Transducer) 2. ทรานสดิวเซอร์ที่ใช้สำหรับวัดความเครียด เมื่อออกแรงกระทำกับวัตถุ จะเกิดความเครียด โดยแรงที่กระทำในลักษณะนี้ เรียกว่า ความเครียด

  34. ทรานสดิวเซอร์ทางกล ( Mechanical Transducer) 3. ทรานสดิวเซอร์ที่ใช้วัดความดันและระดับ ใช้หลักการของแรงที่กระทำต่อวัตถุแล้วทำให้ลักษณะของวัตถุผิดไป ซึ่งลักษณะที่ผิดไป สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้าได้ อุปกรณ์ที่ใช้วัด เช่น วัดความดัน ที่ทำให้รูปร่างวัตถุเปลี่ยนไป

  35. ทรานสดิวเซอร์ทางแสง ( Optical Transducer) คืออุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานแสงให้เป็นสัญญาณทางไฟฟ้า แบ่งได้เป็นหลายชนิด เช่น Photoemissive Cell , Photovoltaic Cell และ Photo conductive Cell

  36. อุปกรณ์วัดแสง ( Photo Detective ) 1. Photoconductive Dectectors 2. Photovoltaic Dectectors 3. Photodiode Dectectors 4. Photoemissive Dectectors

  37. อุปกรณ์วัดแสง ( Photo Detective ) 1. Photoconductive Dectectors ใช้หลักการ คือ อาศัยการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติการนำไฟฟ้าของสารกึ่งตัวนำเมื่อได้รับแสงความเข้มต่าง ๆ คือ ความต้านทานไฟฟ้าเปลี่ยนไปเมื่อได้รับแสงที่ความเข้มเปลี่ยนไป ลักษณะทั่วไป คือ ใช้ Cadmium Sulfide (Cds) หรือ Cadmium Selenide (CdSe) เนื่องจากมีค่า Energy Gap สูงมาก

  38. อุปกรณ์วัดแสง ( Photo Detective ) 1. Photoconductive Dectectors

  39. อุปกรณ์วัดแสง ( Photo Detective ) 1. Photoconductive Dectectors

  40. อุปกรณ์วัดแสง ( Photo Detective ) 2. Photovoltaic Dectectors อุปกรณ์วัดแสงที่สามารถให้ศักย์ไฟฟ้า เป็นสัดส่วนกับความเข็มของแสงที่มาตกกระทบ

  41. อุปกรณ์วัดแสง ( Photo Detective ) 2. Photovoltaic Dectectors

  42. อุปกรณ์วัดแสง ( Photo Detective ) 2. Photovoltaic Dectectors

  43. อุปกรณ์วัดแสง ( Photo Detective ) 3.Photodiode Dectectors เป็นพัฒนาสร้าง Diode เป็นชนิดพิเศษเพื่อใช้เป็นตัวอ่านความเข้มของแสงที่มาตกกระทบไดโอด Diode ประเภทนี้ที่ใช้กันทั่วไป จะเป็น Silicon มีช่วงความยาวคลื่น 0.82 ไมโครเมตร 1.1 ไมโครเมตร และ Germanium ใช้ได้ดีระหว่างช่วงความยาวคลื่น 1.4 ไมโครเมตร 1.9 ไมโครเมตร

  44. อุปกรณ์วัดแสง ( Photo Detective ) 3.Photodiode Dectectors http://privatewww.essex.ac.uk/~bolat/pindiode.html http://www.chipcenter.com/oltu/netsim/photodiode/pd_article.html

  45. อุปกรณ์วัดแสง ( Photo Detective ) 4. Photoemissive Dectectors มีการใช้มานานแล้ว และเป็นที่นิยมใช้อยู่เนื่องจากค่าที่วัดได้มีความถูกต้องสูง

  46. อุปกรณ์วัดแสง ( Photo Detective ) 4. Photoemissive Dectectors

  47. อุปกรณ์วัดแสง ( Photo Detective ) 4. Photoemissive Dectectors

  48. อุปกรณ์วัดแสง ( Photo Detective ) 4. Photoemissive Dectectors

  49. การติดต่อกับคอมพิวเตอร์การติดต่อกับคอมพิวเตอร์ การแปลงสัญญาณ 1. Analog to Digital Converter ( A/D ) 2. Digital to Analog Converter ( D/A ) การเชื่อมโยง ผ่านมาตรฐานต่าง ๆ IEEE488 , RS232 , RS485 ฯลฯ ซอฟท์แวร์ ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมที่ใช้ในการติดต่ออุปกรณ์ต่าง ๆ CAD / CAM

More Related