1 / 26

การประเมินผล ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน

Download Presentation

การประเมินผล ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “. . . ผู้ว่าฯ ซีอีโอให้ประสานงาน ไม่ใช่ประสานงา โดยมากมักประสานงากัน แล้วมีการทุจริต ทำอย่างไรให้ปราบทุจริตได้ สำหรับการปกครองไม่จำเป็นต้องมีความรู้ แต่ต้องมีสมอง มีไหวพริบที่จะใช้คนที่มีความรู้ ไม่ต้องอายว่าไม่รู้ เพราะจะรู้หมดทุกอย่างไม่ได้ แต่ท่านต้องกล้าไปถามคนที่มีความรู้ ถ้าจะเป็นผู้ว่าฯ ซีอีโอ ต้องมองว่าต้องทำอะไรบ้าง เพราะในแง่บริษัทเขาใช้ซีอีโอ จะทำเงินได้ แต่ผู้ว่าฯซีอีโอ ต้องทำ ความเจริญให้พื้นที่พัฒนาทั้งจังหวัด โดยเฉพาะประชาชนให้มีความก้าวหน้า มีความสามารถทำมาหากินได้ ” “ถ้าหากว่าท่านทำอยู่คนเดียวก็ต้องอาศัยผู้ที่มีความรู้ในด้านอื่น ความรู้ด้านสำคัญคือเกษตรศาสตร์ ถ้าไม่รู้เกษตรศาสตร์ จะปลูก จะเลี้ยงสัตว์ จะสร้างจะทำอะไร เลี้ยงปากใส่ท้องก็ไม่ได้ รัฐบาลบอกว่าต่อไปจะไม่มีคนจน ก็แสดงว่าต่อไปก็จะไม่มีผู้ผลิตอาหาร เป็นการพูดทิ้งปริศนาที่ไม่ค่อยสวยนัก แต่ท่านทั้งหลายต้องเข้าใจว่า หน้าที่ของท่านเป็นอย่างไรที่จะทำให้คนจนสามารถมีรายได้ สามารถเป็นนักเศรษฐศาสตร์ได้....” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มอบให้แก่คณะผู้ว่าราชการจังหวัดแบบบูรณาการ (ผู้ว่าฯ ซีอีโอ) เมื่อวันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๔๖ ณ วังไกลกังวล จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

  2. การประเมินผล ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน โดย คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ สมบัติ รูปขำดี 0892330241

  3. ส่วนที่ 1 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

  4. ถอดความเศรษฐกิจพอเพียงถอดความเศรษฐกิจพอเพียง คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงการดำรงอยู่และปฎิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอ คำนิยาม ประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผล กระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความ รอบคอบ และความระมัดระวัง อย่างยิ่งในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนการดำเนินการทุก เงื่อนไข ขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสำนึก คุณธรรมความชื่อสัตย์ สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่ ในดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญาและความรอบคอบ เพื่อให้สมดุล เหมาะสม แนวปฏิบัติและ ผลที่คาดหมาย ฯ และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และ วัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี

  5. องค์ประกอบและเงื่อนไขแห่งปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงองค์ประกอบและเงื่อนไขแห่งปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3 องค์ประกอบ 1. พอประมาณ 2. มีเหตุผล 3. มีภูมิคุ้มกันในตน 1. เงื่อนไขความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) 2. เงื่อนไขคุณธรรม (ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน) นำสู่ ชีวิต เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม สมดุล / มั่นคง / ยั่งยืน

  6. 3 องค์ประกอบ ปรัชญา : 1) พอประมาณ 2) มีเหตุผล 3) มีภูมิคุ้มกัน 1 ความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) 2 คุณธรรม (ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน) 2 เงื่อนไข 5. ขาย แลกเปลี่ยน (Distribution) 4. สะสม เก็บรักษา (Maintain) 3. ให้ (Our loss is our gain) 2. ทำให้พอเพียง (Meet the requirement) 1. พึ่งตนเอง (Independence) ยุทธศาสตร์ :

  7. ส่วนที่ 2 ขั้นตอน/วิธีการประเมินผล • ขอบเขตของการประเมินผล - จำนวน 23 จังหวัด (ภาคกลางและตะวันออก) - จำนวนศูนย์ 162 ศูนย์

  8. แหล่งข้อมูล • ข้อมูลเชิงคุณภาพ - เอกสาร - การสังเกตุ - การสัมภาษณ์ • ข้อมูลเชิงปริมาณ - การสัมภาษณ์ประธานกลุ่มเกษตรกร - การสัมภาษณ์เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ - แบบสอบถามเจ้าหน้าที่เกษตร ?

  9. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ จำนวน 10 ตัวแปร • การประยุกต์เศรษฐกิจพอเพียง • การพึ่งตนเอง • การดำรงตนอยู่ได้ • ภาวะผู้นำ • ความร่วมมือของท้องถิ่น 6. ความหลากหลายของกิจกรรม 7. ความสอดคล้องของกิจกรรม 8. โครงสร้างทางกายภาพ 9. โครงสร้างการผลิต 10. ทำเลที่ตั้ง

  10. กรอบการประเมินเชิงปริมาณ จำนวน 100 ตัวแปร สภาพแวดล้อม (Context) ปัจจัยนำเข้า (Input) กระบวนการ (Process) ผลผลิต (Product) • ความชัดเจนของนโยบาย • การรับรู้นโยบาย • สภาพแวดล้อมที่ตั้งศูนย์ • การวางแผน • การจัดองค์กร • การอำนวยการ • ภาวะผู้นำ • การควบคุม • ความต่อเนื่องในกิจกรรม • การประยุกต์ปรับเปลี่ยน • สถานที่ • บุคลากร • กิจกรรม/หลักสูตร • เครื่องมืออุปกรณ์ • งบประมาณ • การสนับสนุนจากท้องถิ่น • จำนวนเกษตรที่เข้าอบรม • จำนวนเกษตรกรที่เข้าร่วม • ปฏิบัตงานในศูนย์ • ความพร้อมในการเป็น • พี่เลี้ยงศูนย์อื่น • กิจกรรมต่อยอด • ฯลฯ

  11. แนวทางการประเมินผล • การจำแนกศูนย์ - ศูนย์ที่เข้าข่ายเศรษฐกิจพอเพียง - ศูนย์ที่ไม่เข้าข่ายเศรษฐกิจพอเพียง • ตัวชี้วัดประเภทศูนย์ฯ - การประยุกต์เศรษฐกิจพอเพียง - การพึ่งตนเอง - ภาวะผู้นำ

  12. การจัดอันดับศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนการจัดอันดับศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน

  13. ผลการประเมินผล

  14. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ • ภาวะการนำ - เจ้าหน้าที่รัฐในพื้นที่ - ผู้นำเกษตรกร - ผู้นำท้องถิ่น • การบริหารจัดการ - ความเข้าใจวัตถุประสงค์ศูนย์ฯ - การสรรหาผู้จัดการศูนย์ฯ - การประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง

  15. ความพร้อมโครงสร้าง - แหล่งน้ำ - คุณภาพดิน - ปัจจัยเฉพาะท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม • การมีส่วนร่วม - เกษตรกร - ส่วนท้องถิ่น - เจ้าหน้าที่หน่วยงานภูมิภาค

  16. การคัดเลือกกิจกรรม - สอดคล้องกับโครงสร้างศูนย์/ - สอดคล้องกับสภาพท้องถิ่น - สอดคล้องกับองค์ความรู้ของผู้เกี่ยวข้อง

  17. ข้อจำกัดของความสำเร็จข้อจำกัดของความสำเร็จ • การสรรหาพื้นที่ • การสรรหาบุคลากรประจำศูนย์ฯ (ภาวะผู้นำ) • เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ • การสื่อสารนโยบายที่คลาดเคลื่อน • เป็นเรื่องนโยบายที่ต้องทำมากกว่าความต้องการและความพร้อมของผู้ปฏิบัติ

  18. ขอบคุณครับ

  19. ค่านิยมของมนุษย์ในปัจจุบันค่านิยมของมนุษย์ในปัจจุบัน ค่านิยมเน้น การแข่งขันระดับบุคคล ทุนนิยมภายใต้โลกาภิวัฒน์ เศรษฐกิจพอเพียงภายใต้โลกาภิวัฒน์ ค่านิยมเน้นความเข้มแข็งของชุมชน 1/4 ปัจจุบัน --------------- อนาคต

  20. Big Transnational Corporations

  21. เศรษฐกิจพอเพียงคล้องกับเศรษฐกิจทุนนิยมหรือไม่เศรษฐกิจพอเพียงคล้องกับเศรษฐกิจทุนนิยมหรือไม่ หลักทุนนิยม ยุคแรก คือ มุ่งความมั่งคั่ง ความมั่งคั่ง (Wealth) = มีทรัพย์ล้นเหลือ (น.850) Adam Smith Wealth of the Nations หลักทุนนิยม ปัจจุบันเน้น กำไรสูงสุด (Maximize Profit) การแข่งขัน เป็นเศรษฐกิจแบบตาโต

  22. ปริมาณ ยุคหลังฟอสซิล ยุคเชื้อเพลิง ฟอสซิล นิวเคลียร์ ก๊าซธรรมชาติ พลังงานไบโอ น้ำมัน ถ่านหิน เวลา พ.ศ. ค.ศ. 2343 1800 2443 1900 2543 2000 2643 2100 2743 2200 2843 2300 1859 การใช้ทรัพยากรพลังงานของโลก

  23. ความสุดโต่งและทางสายกลางของระบบเศรษฐกิจความสุดโต่งและทางสายกลางของระบบเศรษฐกิจ กระแสรอง/กระแสทางเลือก กระแสหลัก เศรษฐกิจทุนนิยม (Capitalism economy) เศรษฐกิจสังคมนิยม (Socialism economy) เข้าใจ ธรรมชาติมนุษย์ ยอมรับ ข้อจำกัด เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency economy) โลกาภิวัตน์ ชี้โทษ ให้เห็นทุกข์ ชี้จุดอ่อน ให้แก้ไข เศรษฐกิจการค้า/เศรษฐกิจตาโต(Trade economy) เศรษฐกิจหลังเขา (Self-sufficiency economy) • ไม่มีขอบเขตประเทศ ทั้งบนโลกในอวกาศ (ใช้ space ในอวกาศเป็นสินทรัพย์ - กำลังจับจองพื้นที่บนดาวดวงอื่น • พึ่งตนเอง 100 % - ปิดประเทศ

  24. ฐานคติของเศรษฐศาสตร์กระแสหลักฐานคติของเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก ค.ศ.1800-1900 ทุนนิยม (Capitalism) Mass consumption สุขเกิดจากเสพย์ Mass production ค.ศ.2000 ทุนนิยมเสรี + โลกาภิวัตน์ (Globalization) Mass consumption เสพย์ สุข สื่อ Mass production ค.ศ.1750 Wealth of the Nations การค้าขายกับต่างประเทศ การล่าอาณานิคม เกิดจาก เกิดจาก : Efficiency of growth สงครามอาวุธ สงครามเย็น สงครามเศรษฐกิจ

  25. ข้อเสนอของเศรษฐกิจพอเพียง มีลักษณะ ความมั่งคั่งเก่า : เบียดเบียนตนเอง และ เบียดเบียนโลก ความมั่งคั่งใหม่ : พอเพียง พอประมาณ • ต้องพึ่งตนเอง และทำให้พอก่อน • เมื่อทำเต็มที่และพอเพียงจะมีเหลือ • เมื่อเหลือและเพียงพอก็จะให้ • เมื่อยิ่งให้ก็ยิ่งได้ (Our loss is our gain) • ผลคือมั่งคั่งทางจิตใจ (New wealth)

  26. ไตรวิกฤตของโลก และข้อจำกัดการพัฒนา (Three Major Problems Threatening World Survival and Limit to Growth) อดีต ปัจจุบัน และอนาคต • ขาดอาหาร • ขาดพลังงาน • ขาดทรัพยากรอื่น ๆ • ฯลฯ • น้ำเสีย • ดินเสื่อม • อากาศพิษ • - ขยะล้น • - ชุมชนแดอัด • ฯลฯ โลก การพัฒนา เศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจ แบบทุนนิยม ที่ขาดความ พอเพียง ปริมาณ ทรัพยากร อาหาร และพลังงาน คุณภาพ สิ่งแวดล้อม ปริมาณ ทรัพยากร อาหาร พลังงาน คุณภาพ สิ่งแวดล้อม ๑. การพัฒนาเศรษฐกิจที่ผิดทิศทาง (มิจฉาทิฐิ ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะวินาศ) ๒. การขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ ๓. ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม • รายได้เหลื่อมล้ำ • การอพยพ/ลี้ภัยทาง ศก. • โรคติดต่อร้ายแรง • การก่อการร้ายที่รุนแรง • อุณหภูมิโลกสูง / น้ำท่วม • การทำลายชั้นโอโซน • การทำลายป่าฝน / มีฝนกรด • โรคร้ายจากมลพิษ ความไม่มั่นคงของมนุษย์ (Human Insecurity)

More Related