1 / 28

ผลกระทบของการเปิดเสรีการค้าและบริการของอาเซียนต่อระบบสาธารณสุขของไทย

ผลกระทบของการเปิดเสรีการค้าและบริการของอาเซียนต่อระบบสาธารณสุขของไทย. โดย นายสุนทร ชัยยินดีภูมิ ผู้อำนวยการกองอาเซียน 2 กรมอาเซียน soonthoc@mfa.go.th. ประเด็นการนำเสนอ. - ภาพรวมของอาเซียน - ผลกระทบต่อระบบสาธารณสุขของไทย - การเคลื่อนย้ายของแรงงานมีฝีมือ (รวมถึงบุคลากรทางการแพทย์) โดยเสรี.

Download Presentation

ผลกระทบของการเปิดเสรีการค้าและบริการของอาเซียนต่อระบบสาธารณสุขของไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลกระทบของการเปิดเสรีการค้าและบริการของอาเซียนต่อระบบสาธารณสุขของไทยผลกระทบของการเปิดเสรีการค้าและบริการของอาเซียนต่อระบบสาธารณสุขของไทย โดยนายสุนทร ชัยยินดีภูมิผู้อำนวยการกองอาเซียน 2 กรมอาเซียนsoonthoc@mfa.go.th

  2. ประเด็นการนำเสนอ - ภาพรวมของอาเซียน - ผลกระทบต่อระบบสาธารณสุขของไทย - การเคลื่อนย้ายของแรงงานมีฝีมือ (รวมถึงบุคลากรทางการแพทย์) โดยเสรี

  3. อาเซียนประกอบด้วยสมาชิก 10 ประเทศ ประชากรรวมกัน 580 ล้านคน มี GDP รวมกัน 1.7 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ

  4. เป้าหมายของอาเซียนภายในปี พ.ศ. 2558

  5. ASEAN Socio-Cultural Community A. Human Development B. Social Welfare and Protection C. Social Justice and Rights D. Ensuring Environmental Sustainability E. Building ASEAN Identity F. Narrowing the Development Gap

  6. สิ่งที่เกี่ยวข้องกับระบบสาธารณสุขภายใต้เสาสังคมและวัฒนธรรมสิ่งที่เกี่ยวข้องกับระบบสาธารณสุขภายใต้เสาสังคมและวัฒนธรรม B. Social Welfare and Protection • Enhancing food security and safety • Access to healthcare and promotion of healthy lifestyles • Improving capability to control communicable diseases • Ensuring a drug-free ASEAN

  7. ASEAN Economic Community Free flow of Goods AECSingle market and Production base Free flow of Services Free flow of Investment Free flow of Skilled Labor Freer flow of Capital

  8. เป้าหมายของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป้าหมายของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1. ให้มีการเคลื่อนย้ายของสินค้าอย่างเสรี 2. ให้มีการเคลื่อนย้ายของสินค้าบริการอย่างเสรี 3. ให้มีการเคลื่อนย้ายของการลงทุนอย่างเสรี 4. ให้มีการเคลื่อนย้ายของเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น 5. ให้มีการเคลื่อนย้ายของแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี

  9. ผลกระทบของ AFTA ต่อระบบสาธาณสุขของไทย 2 ด้าน 1.การเข้าสู่ตลาด (Market Access)ของสินค้าและบริการที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพจากประเทศอาเซียนอื่น 2. การให้การประติบัติเยี่ยงคนชาติ (National Treatment)สำหรับผู้ให้บริการทางการแพทย์ต่างชาติที่เข้ามาประกอบวิชาชีพและนักลงทุนอาเซียนภายใต้ความตกลงเปิดเสรีการค้าและบริการของอาเซียน

  10. การค้าบริการระหว่างประเทศการค้าบริการระหว่างประเทศ

  11. ความตกลงยอมรับคุณสมบัติร่วมในสาขาวิชาชีพ(Mutual Recognition Arrangement - MRA) “การยอมรับร่วมในคุณสมบัติของแรงงานมีฝีมือที่ครอบคลุมในเรื่องคุณวุฒิการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และคุณสมบัติอื่นๆ หรือจรรยาบรรณของวิชาชีพนั้นๆ”

  12. วัตถุประสงค์ของ MRA 1. เพื่ออำนวยความสะดวกให้มีการเคลื่อนย้ายของแรงงานมีฝีมือ 2. แลกเปลี่ยนข้อมูลและส่งเสริมความร่วมมือในเรื่องการยอมรับ คุณสมบัติร่วมด้านวิชาชีพ 3. ส่งเสริมการยอมรับแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ(Best Practices) ในด้าน มาตรฐาน (Standards) และคุณสมบัติ (Qualifications) 4. เปิดโอกาสให้มีการฝึกอบรมแก่แรงงานมีฝีมือในอาเซียน

  13. ความตกลงยอมรับคุณสมบัติร่วมใน 8 สาขาวิชาชีพ ของอาเซียน

  14. ตัวอย่างความตกลงยอมรับคุณสมบัติร่วมด้านบริการวิศวกรรมตัวอย่างความตกลงยอมรับคุณสมบัติร่วมด้านบริการวิศวกรรม • วิศวกรสัญชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถเข้าร่วมได้ • จบการศึกษาจากหลักสูตรและสถาบันที่ได้รับการรับรองโดยรัฐบาล และสภาวิศวกร • มีใบอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรม • มีประสบการณ์ทำงานอย่างน้อย 7 ปี (มีผลงานที่สำคัญอย่างน้อย 2 ปี) • สภาวิศวกรจะทำหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบและออกใบอนุญาตให้วิศวกรจากประเทศอาเซียนอื่นที่เข้าร่วมโครงการสามารถประกอบวิชาชีพได้

  15. สถานะล่าสุดความตกลงยอมรับคุณสมบัติร่วมด้านบริการวิศวกรรมสถานะล่าสุดความตกลงยอมรับคุณสมบัติร่วมด้านบริการวิศวกรรม • ไทยได้แจ้งเข้าร่วมผูกพันการปฏิบัติตามความตกลงยอมรับคุณสมบัติ ร่วมด้านบริการวิศวกรรมแล้ว มีผลตั้งแต่ 1 มีนาคม 2552 • ขณะนี้มีประเทศอาเซียน 7 ประเทศแจ้งเข้าร่วมผูกพันการปฏิบัติตามความตกลงแล้ว (ลาว มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ไทย และสิงคโปร์) • มีผู้ได้รับการจดทะเบียนเป็นวิศวกรอาเซียนแล้ว 125 คน (จากสิงคโปร์ อินโดนีเซีย และมาเลเซีย)

  16. สถานะล่าสุดความตกลงยอมรับคุณสมบัติร่วมด้านบริการวิศวกรรมสถานะล่าสุดความตกลงยอมรับคุณสมบัติร่วมด้านบริการวิศวกรรม • ไทยกำลังพิจารณาเรื่องผู้แทนในคณะกรรมการกำกับติดตาม (MC) และการเสนอ Assessment Statement ก่อนที่จะเริ่มรับจดทะเบียน • สภาวิศวกรของไทยมีความคิดที่จะให้ License มีอายุ 3 ปี

  17. ความตกลงยอมรับคุณสมบัติร่วมด้านบริการทางการแพทย์ความตกลงยอมรับคุณสมบัติร่วมด้านบริการทางการแพทย์ • ผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์สัญชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถเข้าร่วมได้ • จบการศึกษาจากหลักสูตรและสถาบันที่ได้รับการรับรองโดยรัฐบาล และแพทย์สภา • มีใบอนุญาตประกอบโรคศิลป์ • มีประสบการณ์ทำงานไม่น้อยกว่า 5 ปี • แพทย์สภาจะทำหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบและออกใบอนุญาตให้แพทย์จากประเทศอาเซียนอื่นที่เข้าร่วมโครงการสามารถประกอบวิชาชีพในไทยได้

  18. สาระสำคัญ 1.เปิดโอกาสให้แพทย์ที่มีคุณสมบัติตามที่กำหนดสามารถจดทะเบียนหรือขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพแพทย์ในประเทศอาเซียนได้ 2. แพทย์ต่างชาติที่ขอรับใบอนุญาตประกอบวาชีพในไทยจะต้องผ่านการประเมินและตรวสอบโดยแพทย์สภาและกระทรวงสาธารณสุข 3. การดำเนินงานจะอยู่ภายใต้การดูแลของ ASEAN Joint CoordinatingCommitteeon Medical Practitioners

  19. ผลดี/ผลเสียของ MRA ผลดี 1. กระตุ้นให้เกิดการตื่นตัวเพื่อไปทำงานในประเทศอาเซียนอื่น 2. ตลาดผู้ให้บริการด้านสุขภาพขยายตัวมากขึ้น 3. เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลและแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ผลเสีย 1. เพิ่มปัญหาการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์ภายในประเทศ 2. เกิดการแข่งขันจากแพทย์ของประเทศอาเซียนอื่น 2. รัฐบาลไม่สามารถใช้กฏระเบียบภายในเพื่อปกป้องผู้ประกอบวิชาชีพ ภายในประเทศได้อีกต่อไป(ต้องเปิดเสรีภายในปี 2558)

  20. ผลกระทบต่อไทยโดย SWOT Analysis

  21. จำนวนบุคคลากรทางการแพทย์ของประเทศอาเซียนจำนวนบุคคลากรทางการแพทย์ของประเทศอาเซียน จำนวนบุคคลากรทางการแพทย์ของประเทศอาเซียน หมายเหตุ: * หมายถึง Dental Nurse **สถิติจาก WHO Website *** สถิติจาก WHO Regional Office for Western Pacific

  22. สถิติผู้ป่วยต่างชาติที่เข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาลเอกชนของไทยสถิติผู้ป่วยต่างชาติที่เข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาลเอกชนของไทย 2544 550,161 ราย 2545 630,000 ราย 2546 973,552 ราย 2547 1,103,095 ราย 2550 1,500,000 ราย อัตราเพิ่มเฉลี่ยปีละ 27.2 % รายได้เข้าประเทศเฉลี่ยปีละ 40,000 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยจากญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา ยุโรป เอเชีย (จีน/ไต้หวัน) ตะวันออกกลาง ที่มา: Presentation by Dr. Chairat Shaykual, M.D.

  23. ตำแหน่งของไทยในการแข่งขันให้บริการสุขภาพในอาเซียนตำแหน่งของไทยในการแข่งขันให้บริการสุขภาพในอาเซียน ระดับความสามารถหรือเทคโนโลยี สิงคโปร์ ไทย สูง มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน ดารุสซาลาม เวียดนาม อินโดนีเซีย กัมพูชา ลาว ต่ำ พม่า สูง ต่ำ อัตราค่าบริการด้านสุขภาพ

  24. กลยุทธ์ของไทยในการแข่งขันให้บริการสุขภาพในอาเซียนกลยุทธ์ของไทยในการแข่งขันให้บริการสุขภาพในอาเซียน ระดับความสามารถหรือเทคโนโลยี สิงคโปร์ ไทย T สูง มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน ดารุสซาลาม เวียดนาม อินโดนีเซีย กัมพูชา ลาว ต่ำ พม่า สูง ต่ำ อัตราค่าบริการด้านสุขภาพ

  25. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย การปรับตัวเพื่อรองรับการเคลื่อนย้ายของบุคลาการทางการแพทย์ 1. ควรมีการศึกษาทบทวนอัตราค่าบริการทางการแพทย์ที่เป็นไปตามกลไกตลาดอย่างค่อยเป็น ค่อยไป ก่อนที่จะเผชิญกับการเปิดเสรีในทันที 2. การเพิ่มจำนวนนักศึกษาแพทย์และปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาเพื่อรองรับการทำงานในระดับนานาชาติ 3. การประสานท่าทีอย่างเป็นเอกภาพขององค์กรที่เกี่ยวข้อง

  26. แหล่งข้อมูลเกี่ยวกับ MRA ของอาเซียน www.aseansec.org/19087.htm

More Related