200 likes | 378 Views
การเจรจาจัดทำความตกลงการค้าเสรีอาเซียน -ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์. ASEAN – Australia – New Zealand Free Trade Agreement: AANZFTA. หัวข้อการบรรยาย. ความเป็นมาของการเจรจา สถานะล่าสุดของการเจรจา ประโยชน์ / ผลกระทบ ที่อาจได้รับจากการเจรจา การมีส่วนร่วมของภาคเอกชนในการเจรจา.
E N D
การเจรจาจัดทำความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์การเจรจาจัดทำความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ ASEAN – Australia – New Zealand Free Trade Agreement: AANZFTA
หัวข้อการบรรยาย • ความเป็นมาของการเจรจา • สถานะล่าสุดของการเจรจา • ประโยชน์ / ผลกระทบ ที่อาจได้รับจากการเจรจา • การมีส่วนร่วมของภาคเอกชนในการเจรจา
ความเป็นมา • 5 กันยายน 2547 รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ รับรอง Guiding Principles for Negotiation • 30 พฤศจิกายน 2547 ผู้นำอาเซียน ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ลงนามในแถลงการณ์ร่วม ตกลงให้เริ่มการเจรจา
การลดภาษีสินค้า / NTMs กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า พิธีการศุลกากร SPS /TBT ความเป็นมา Coverage เบื้องต้นของความตกลง การค้าสินค้า การค้าบริการ การลงทุน ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ข้อบททั่วไป
ความเป็นมา การเจรจาที่ผ่านมา AANZTNC 1 – March 2005 – Manila, The Philippines AANZTNC 2 – June 2005 – Auckland, New Zealand AANZTNC 3 – August 2005 – Chiang Mai, Thailand AANZTNC 4 – October 2005 – Canberra, Australia AANZTNC 5 – April 2006 – Rotorua, New Zealand AANZTNC 6 – July 2006 – Brunei Darussalam AANZTNC 7 – September 2006 – Hobart, Australia AANZTNC 8 – March 2007 – Wellington, New Zealand
หัวข้อการบรรยาย • ความเป็นมาของการเจรจา • สถานะล่าสุดของการเจรจา • ประโยชน์ / ผลกระทบ ที่อาจได้รับจากการเจรจา • การมีส่วนร่วมของภาคเอกชนในการเจรจา
สถานะล่าสุด การลดภาษีสินค้า • อยู่ระหว่างเจรจาตกลงแนวทางการลดภาษีสินค้า • ข้อสรุปเบื้องต้น - แต่ละประเทศจะมีตารางการลดภาษีเดียวที่ใช้กับทุกประเทศ - จะใช้ MFN Applied Rates ณ 1 ม.ค. 48 เป็นอัตราภาษีฐาน - จะแบ่งสินค้าออกเป็น Normal Track และ Sensitive Track ในสัดส่วน 90:10
สถานะล่าสุด การค้าบริการ • อยู่ระหว่างเจรจาตกลงแนวทางการเปิดตลาดการค้าบริการ • ข้อสรุปเบื้องต้น - แต่ละประเทศจะมีตารางข้อผูกพันเดียวที่ใช้กับทุกประเทศ - เริ่มมีการแลกเปลี่ยน Request บ้างแล้ว - ได้กำหนดให้มีการแลกเปลี่ยน Offer ภายในเดือนมิถุนายนศกนี้
สถานะล่าสุด การลงทุน • อยู่ระหว่างเจรจาตกลงแนวทางการเปิดตลาดการลงทุน • ข้อสรุปเบื้องต้น - แต่ละประเทศจะมีตารางข้อผูกพันเดียวที่ใช้กับทุกประเทศ • ประเด็นสำคัญที่ไทยมีท่าทีแตกต่างจากคู่เจรจา คือ Approach ของการเจรจา การเปิดเสรี Portfolio Investment และมาตรการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาคและการเงิน เป็นต้น
สถานะล่าสุด เรื่องอื่นๆ • กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า - ได้ข้อสรุป General Rule – RVC 40% หรือ CTH (co-equal) - ได้ข้อสรุป Product Specific Rule ประมาณหนึ่งพันรายการ • พิธีการศุลกากร / SPS / TBT / ประเด็นกฎหมาย / ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ - อยู่ระหว่างพิจารณาร่างข้อบท
สถานะล่าสุด การเจรจาครั้งต่อไป การเจรจาจัดทำความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ (AANZFTA) ครั้งที่ 9 จะจัดขึ้น ระหว่างวันที่ 28 พฤษภาคม – 2 มิถุนายน ศกนี้ ณ เมืองปาเลมบัง ประเทศอินโดนีเซีย
หัวข้อการบรรยาย • ความเป็นมาของการเจรจา • สถานะล่าสุดของการเจรจา • ประโยชน์ / ผลกระทบ ที่อาจได้รับจากการเจรจา • การมีส่วนร่วมของภาคเอกชนในการเจรจา
ประโยชน์/ ผลกระทบ ภาพรวม เนื่องจากไทยมีความตกลง AFTA TAFTA และ TNZCEPA กับอาเซียน ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ อยู่แล้ว ตามลำดับ การเจรจา AANZFTA จึงมุ่งเน้นประเด็นที่จะเป็นประโยชน์ เพิ่มเติมให้กับไทย โดยมีการพิจารณาผลได้และผลเสีย ที่จะได้รับในแต่ละเรื่องและในภาพรวม
ประโยชน์/ ผลกระทบ การลดภาษีสินค้า • ไทยจะมีโอกาสเจรจาขอให้ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ลดภาษีสินค้าบางรายการให้เร็วกว่าที่ผูกพันไว้ภายใต้ความตกลงทวิภาคี • ไทยอาจถูกขอให้ลดภาษีสินค้าบางรายการเร็วกว่าที่ผูกพันไว้ในความตกลงที่มีอยู่เดิม
ประโยชน์/ ผลกระทบ การค้าบริการ • ไทยอาจได้ประโยชน์จากข้อผูกพันของสมาชิกอาเซียนอื่น ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ที่มากกว่าข้อผูกพันในความตกลง AFAS และความตกลงทวิภาคี • ไทยอาจถูกขอให้เปิดตลาดการค้าบริการให้กับคู่เจรจามากกว่าที่ได้ผูกพันไว้ในความตกลงที่มีอยู่เดิม
ประโยชน์/ ผลกระทบ การลงทุน • ไทยอาจได้ประโยชน์จากข้อผูกพันของคู่เจรจาที่มากกว่าความตกลงที่มีอยู่เดิม แม้จะไม่มากนัก เนื่องจาก ANZ มีนโยบายการลงทุนที่ค่อนข้างเปิดอยู่แล้ว • ไทยอาจถูกขอให้ผูกพันเปิดตลาดการลงทุนให้กับคู่เจรจามากกว่าในความตกลงที่มีอยู่เดิม
ประโยชน์/ ผลกระทบ เรื่องอื่นๆ • กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า – ไทยจะสามารถเลือกใช้วัตถุดิบทั้งจากอาเซียน ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ในการผลิต เพื่อให้สินค้านั้นได้ประโยชน์จากการลดภาษีภายใต้กรอบ AANZFTA • SPS – ไทยและสมาชิกอาเซียนอื่นจะสามารถร่วมกันผลักดันให้ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์แก้ไขปัญหา SPS เพื่ออำนวยความสะดวกในการเข้าสู่ตลาดได้
หัวข้อการบรรยาย • ความเป็นมาของการเจรจา • สถานะล่าสุดของการเจรจา • ประโยชน์ / ผลกระทบ ที่อาจได้รับจากการเจรจา • การมีส่วนร่วมของภาคเอกชนในการเจรจา
การมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมของภาคเอกชน • กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศมีการจัดการประชุม เพื่อรับฟังความเห็นจากตัวแทนภาครัฐและภาคเอกชน ตลอดจนแจ้งให้ทราบผลการเจรจาเป็นระยะๆ • หน่วยงานภาคเอกชนที่เข้าร่วมการประชุม ได้แก่ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และคณะกรรมการร่วม WTO
การมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมของภาคเอกชน (ต่อ) ผู้ประกอบการยังสามารถแจ้งข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการเจรจา AANZFTA มายังกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศได้ที่ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ 44/100 ถ.นนทบุรี 1 ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000