380 likes | 490 Views
เอกเทศสัญญา 2 Specific Contract 2. อ . ลภัสรดา ปราบปราม. เอกเทศสัญญาคืออะไร???. สัญญาที่กฎหมายกำหนดชื่อ และลักษณะไว้โดยเฉพาะใน ป.พ.พ. บรรพ 3 เช่น ซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้ เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ และจ้างทำของ,
E N D
เอกเทศสัญญา 2 Specific Contract 2 อ.ลภัสรดา ปราบปราม
เอกเทศสัญญาคืออะไร??? • สัญญาที่กฎหมายกำหนดชื่อ และลักษณะไว้โดยเฉพาะใน ป.พ.พ. บรรพ 3 เช่น • ซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้ เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ และจ้างทำของ, • ตัวแทน นายหน้า ยืม ฝากทรัพย์ ประนีประนอมยอมความ เก็บของในคลังสินค้า บัญชีเดินสะพัด และการพนันขันต่อ
๑๖๐๒๓๐๗ กฎหมายเอกเทศสัญญา ๒ ๓(๓-๐) • ศึกษาสัญญาตัวแทน ตั้งแต่ลักษณะและประเภทของตัวแทน หน้าที่และความรับผิดชอบที่มีต่อกันระหว่างตัวการและตัวแทน และต่อบุคคลภายนอก ความระงับแห่งสัญญาตัวแทนและตัวแทนค้าต่างสัญญานายหน้า สัญญายืมใช้คงรูป ยืมใช้สิ้นเปลือง ฝากทรัพย์ เก็บของในคลังสินค้า ประนีประนอมยอมความ และการพนันขันต่อ
1. นิติกรรม ม. 149 • 2. เจตนาของคู่สัญญา (คำเสนอ สนอง,ซ่อนเร้น,ลวง,อำพราง ) • 3. วัตถุประสงค์ของนิติกรรม ม. 150 • 4. ความสามารถในการทำการทำนิติกรรม ม. 153,175,21 • การที่พระภิกษุให้กู้ยืมเงินโดยคิดดอกเบี้ย การกู้ยืมเงินดังกล่าว เป็นโมฆะหรือไม่
สัญญายืม (Loan) • ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ม. 640 - 656 • พระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ. 2475 • พระราชบัญญัติดอกเบี้ยเงินให้กู้ของสถาบันการเงิน พ.ศ. 2523 • พระราชบัญญัติการเล่นแชร์ พ.ศ. 2534
ยืม (Loan) ยืม: สัญญาซึ่งคู่สัญญาฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า ผู้ให้ยืม ได้ส่งมอบทรัพย์สินให้แก่คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเรียกว่า ผู้ยืม เพื่อให้ได้ใช้ทรัพย์สินนั้น และผู้ยืมต้องคืนทรัพย์สินที่ยืมแก่ผู้ให้ยืม • คำนิยาม
ยืม(Loan) 1. สัญญายืมเป็นเอกเทศสัญญาชนิดหนึ่ง (ม. 641, ม. 650) (ยืมใช้สิ้นเปลือง ยืมใช้คงรูป ฝากทรัพย์ จำนำ ) • ลักษณะ
ยืม(Loan) 2. สัญญาที่สมบูรณ์ต่อเมื่อส่งมอบทรัพย์ที่ให้ยืม (ม. 641, ม. 650) (ยืมใช้สิ้นเปลือง ยืมใช้คงรูป ฝากทรัพย์ จำนำ ) • ลักษณะ
ยืม(Loan) • 3. สัญญาไม่ต่างตอบแทน ไม่ก่อให้เกิดหนี้แก่คู่สัญญาทั้งสองฝ่าย ก่อให้เกิดหนี้แก่ผู้ยืมเพียงฝ่ายเดียว (คืนทรัพย์ที่ยืม)
การที่ผู้ให้ยืมส่งมอบทรัพย์สินที่ยืมให้แก่ผู้ยืม ไม่เป็นการชำระหนี้ แต่เป็นส่วนประกอบที่เป็นสาระสำคัญของสัญญายืม
ยืม (Loan) • ชนิด • 1. สัญญายืมใช้คงรูป (ม. 640 - ม. 649) • 2. สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง (ม. 650 – ม. 656) ประเภทและชนิดของทรัพย์ ลักษณะการใช้ทรัพย์ที่ยืม กรรมสิทธิ์ในทรัพย์
สัญญายืมใช้คงรูป (loan for use) ยืมใช้คงรูป : สัญญาที่ผู้ให้ยืม ให้ผู้ยืมใช้สอยทรัพย์สินสิ่งหนึ่ง สิ่งใดได้เปล่า โดยผู้ยืมตกลงจะคืนทรัพย์สินนั้น เมื่อใช้เสร็จ ความหมาย (มาตรา 640)
ลักษณะสำคัญของยืมใช้คงรูปลักษณะสำคัญของยืมใช้คงรูป • และไม่ก่อให้เกิดสิทธิแก่ผู้ให้ยืมที่จะเรียกค่าตอบแทนจากผู้ยืม • ผู้ยืมไม่มีหน้าที่ตามกฎหมายที่จะต้องให้ค่าตอบแทนในการใช้ทรัพย์สินนั้น • 1.เป็นสัญญาที่ไม่มีค่าตอบแทน
ลักษณะสำคัญของยืมใช้คงรูปลักษณะสำคัญของยืมใช้คงรูป • มีการส่งมอบกันจริง แต่เป็นการทำเพื่อให้ผู้ยืมได้ครอบครองและใช้ทรัพย์สินนั้นท่านั้น กรรมสิทธิ์ไม่ได้โอน • 2. เป็นสัญญาที่ไม่มีการโอนกรรมสิทธิ์ ในวัตถุแห่งสัญญา
ผู้ให้ยืมในสัญญายืมใช้คงรูปอาจไม่ใช่เจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่ให้ยืมก็ได้ผู้ให้ยืมในสัญญายืมใช้คงรูปอาจไม่ใช่เจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่ให้ยืมก็ได้ • เช่น การเช่า
ในกรณีทรัพย์สินที่ให้ยืมนั้นสูญหายหรือบุบสลายโดยมิใช่ความผิดของผู้ยืมแล้ว ผู้ยืมก็ไม่ต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหาย • ความวินาศแห่งทรัพย์สินตกเป็นพับแก่เจ้าของ res perit domino
ลักษณะสำคัญของยืมใช้คงรูปลักษณะสำคัญของยืมใช้คงรูป ทรัพย์สิน: ม. 138 ทรัพย์สิน หมายความรวมทั้งทรัพย์และวัตถุไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได้ เช่น สังหาริมทรัพย์ อสังหาริมทรัพย์ ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร หรือเครื่องหมายการค้า • 3. วัตถุ
วัตถุแห่งสัญญายืมใช้คงรูปวัตถุแห่งสัญญายืมใช้คงรูป • ความเห็นแรก: ไม่ได้ เพราะ ไม่สามารถส่งมอบและส่งคืนให้แก่กันได้เนื่องด้วยว่าไม่มีรูปร่างไม่สามารถจับต้องมองเห็นได้ (หลวงประเสริฐมนูกิจ,หลวงวิเทศจรรยารักษ์,ประภาษ วณิกเกียรติ) • ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า หรือสิทธิการเช่า?
วัตถุแห่งสัญญายืมใช้คงรูปวัตถุแห่งสัญญายืมใช้คงรูป • ความเห็นที่สอง: สามารถทำได้ เพราะสามารถส่งมอบโดยปริยายได้ เช่นการขอยืมลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นมาจัดพิมพ์เป็นหนังสือโดยไม่ต้องจ่ายค่าตอบแทน (กมล สนธิเกษตริน)
หน้าที่ของผู้ยืม • ม. 642 : ค่าฤชาธรรมเนียมในการทำสัญญาก็ดี ค่าส่งมอบ และ ค่าส่งคืนทรัพย์สินซึ่งยืมก็ดี ย่อมตกแก่ผู้ยืมเป็นผู้เสีย • 1. การเสียค่าใช้จ่ายต่างๆ (มาตรา 642)
ค่าฤชาธรรมเนียม เช่น ค่าอากรแสตมป์ • ค่าส่งมอบ เช่น ค่าไปรษณียากร • ค่าส่งคืน
เช่น • นายเอกอยู่ที่ปัตตานี ขอยืมมอเตอร์ไซค์ของนายโทซึ่งอยู่ที่เชียงราย ดังนี้จะต้องมีการจัดส่งมอเตอร์ไซค์จากเชียงรายมายังปัตตานี ค่าใช้จ่ายในการจัดส่งดังกล่าวนายเอกต้องเป็นผู้เสีย
หน้าที่ของผู้ยืม • ม. 647 : ค่าใช้จ่ายอันเป็นปกติแก่การบำรุงรักษาทรัพย์ซึ่งยืม นั้น ผู้ยืมจะต้องเสีย • 2. ค่าใช้จ่ายรักษาทรัพย์ (มาตรา 647)
ค่าน้ำมันหล่อลื่น • น้ำกลั่นหม้อแบตเตอรี่ • ปะยาง
เช่น • นายเอกขอยืมมอเตอร์ไซค์ของนายโทมาใช้ ดังนั้นนายเอกต้องเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาตัวรถ การเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่อง เป็นต้น
หน้าที่ของผู้ยืม • ม. 643 : ทรัพย์สินซึ่งยืมนั้น ถ้าผู้ยืมเอาไปใช้การอย่างอื่นนอกจากการอันเป็นปกติแก่ทรัพย์นั้น หรือนอกจากการอันปรากฏในสัญญาก็ดี เอาไปให้บุคคลภายนอกใช้สอยก็ดี เอาไปไว้นานกว่าที่ควรจะเอาไว้ก็ดี ท่านว่าผู้ยืมจะต้องรับผิดในเหตุทรัพย์สินนั้นสูญหายหรือบุบสลายไปอย่างหนึ่งอย่างใด แม้ถึงจะเป็นเพราะเหตุสุดวิสัย เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าถึงอย่างไร ทรัพย์สินนั้นก็จะต้องสูญหายหรือบุบสลายอยู่นั่นเอง • 3. การใช้ทรัพย์สินที่ยืม (มาตรา 643)
หน้าที่ของผู้ยืม : การใช้ทรัพย์สินที่ยืม • 3.1 ต้องใช้ทรัพย์สินนั้นอย่างปกติดังที่คนทั่วๆ ไปใช้ • 3.2 ต้องใช้ทรัพย์สินตามที่ปรากฏในสัญญา • 3.3 ต้องเป็นผู้ใช้ทรัพย์สินนั้นเอง • 3.4 ต้องคืนทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้ยืมเมื่อใช้เสร็จ
หน้าที่ของผู้ยืม • ม.644 : ผู้ยืมจำต้องสงวนทรัพย์สินซึ่งยืมไปเหมือนเช่นวิญญูชนจะพึงสงวนทรัพย์สินของตนเอง • วิญญูชน ได้แก่ บุคคลที่มีความระมัดระวังอย่างธรรมดาทั่วไป • 4. หน้าที่ในการสงวนทรัพย์สินที่ยืม (มาตรา 644)
เช่น • นายเอกขอยืมมอเตอร์ไซค์ของนายโทมาใช้ ดังนั้นนายเอกต้องมีหน้าที่คอยดูแลบำรุงรักษาตัวรถ การเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่อง รวมถึงการดูแลรักษาความสะอาดของรถนอกจากนี้ในการจอดรถจะต้องไว้ในที่ร่มไม่ปล่อยทิ้งไว้ตากแดด ตากฝน เป็นต้น
สิทธิของผู้ให้ยืม • มาตรา 645 : .ในกรณีทั้งหลายดังกล่าวไว้ในมาตรา 643 นั้นก็ดี หรือถ้าผู้ยืมประพฤติฝ่าฝืนต่อความในมาตรา 644 ก็ดี ผู้ให้ยืมจะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได้ • 1. สิทธิการบอกเลิกสัญญา (มาตรา 645)
เช่น • ไม่ใช้ทรัพย์ตามสภาพแห่งทรัพย์นั้น • ไม่ใช้ทรัพย์ตามสัญญา • การเอาไปให้บุคคลภายนอกใช้สอย • การเอาทรัพย์ที่ยืมไว้นานเกินสมควร
สิทธิของผู้ให้ยืม • หลัก : ผู้ให้ยืมไม่สามารถเรียกเอาทรัพย์ที่ยืมคืนก่อนกำหนดระยะเวลาแห่งสัญญาที่ได้มีการตกลงไว้ • 2. สิทธิในการเรียกทรัพย์ที่ยืมคืน
เช่น • คำพิพากษาฎีกา 643/2480 ยืมของไปแล้วไม่ส่งคืน เมื่อของนั้นไปตกอยู่ที่บุคคลอื่น ผู้ให้ยืมย่อมมีสิทธิติดตามเอาคืนจากบุคคลนั้นได้
สิทธิของผู้ให้ยืม • อันเนื่องมาจากการที่ทรัพย์ที่ยืมสูญหายหรือบุบสลายเพราะความผิดของผู้ยืม (มาตรา 215, 213 และ 222 ) • 3. สิทธิเรียกร้องให้ชดใช้ราคาทรัพย์ หรือชดใช้ค่าเสียหาย
ผู้ให้ยืม • 1. การเสียค่าใช้จ่ายบำรุงรักษาทรัพย์ที่ยืมในกรณีพิเศษ • 2. การรับผิดเพราะความชำรุดบกพร่องแห่งทรัพย์ที่ยืม
ความระงับแห่งสัญญายืมใช้คงรูปความระงับแห่งสัญญายืมใช้คงรูป • การมรณะของผู้ยืม (มาตรา 648) • เมื่อมีการบอกเลิกสัญญา (มาตรา 645) • เมื่อผู้ยืมได้คืนทรัพย์ที่ยืมให้แก่ผู้ให้ยืม • เมื่อมีการเรียกให้คืนทรัพย์ที่ยืม (มาตรา 646) • เมื่อทรัพย์ที่ยืมเกิดการสูญหายหรือสิ้นสภาพไป
อายุความ • มาตรา 649: ในข้อความรับผิดเพื่อเรียกค่าทดแทนอันเกี่ยวกับการยืมใช้คงรูปนั้น ท่านห้ามมิให้ฟ้องเมื่อพ้นเวลาหกเดือนนับแต่วันสิ้นสัญญา • ใช้เฉพาะการฟ้องร้องอันเกี่ยวกับการเรียกค่าทดแทนเพราะเหตุแห่งการที่ไม่ได้มีการปฏิบัติการชำระหนี้โดยชอบตามสัญญายืมใช้คงรูป ตาม ม. 642, 643, 644 และ 647 เท่านั้น
อายุความ • กรณีการฟ้องเพื่อให้ชดใช้ราคาทรัพย์หรือการฟ้องเรียกเอาทรัพย์ที่ยืมคืน กฎหมายไม่ได้กำหนดไว้เป็นพิเศษ ดังนั้นจึงต้องใช้หลักเกณฑ์ทั่วไป คือ สิบปี ตาม มาตรา 193/30