1 / 39

Scandium

Scandium. Titanium. Vanadium. Chromium. Manganese. Iron. Cobalt. Nickel. Copper. สมบัติของธาตุแทรนซิชัน สารประกอบของธาตุแทรนซิชัน สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน. ธาตุแทรนซิชัน (Transition elements). ธาตุแทรนซิชัน. ธาตุแทรนซิชัน. Electron configurations of Cr and Cu.

gamma
Download Presentation

Scandium

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Scandium Titanium Vanadium Chromium Manganese Iron Cobalt Nickel Copper

  2. สมบัติของธาตุแทรนซิชันสมบัติของธาตุแทรนซิชัน • สารประกอบของธาตุแทรนซิชัน • สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน ธาตุแทรนซิชัน (Transition elements)

  3. ธาตุแทรนซิชัน

  4. ธาตุแทรนซิชัน Electron configurations of Cr and Cu

  5. สมบัติของธาตุแทรนซิชันสมบัติของธาตุแทรนซิชัน ธาตุแทรนซิชันมีสมบัติแตกต่างจากโลหะทั่วๆ ไป ทำให้ต้องแยกออกเป็นกลุ่ม ๆ ต่างหาก ลักษณะที่สำคัญของธาตุแทรนซิชันเป็นดังนี้ 1. มีเลขออกซิเดชันมากกว่า 1 ค่า ยกเว้นหมู่ IIIB เช่น Sc เป็น +3 ค่าเดียว และหมู่ IIB (Zn, Cd) เป็น +2 ค่าเดียว 2. ธาตุแทรนซิชันเป็นโลหะ จึงดึงดูดกับแม่เหล็ก และมีบางธาตุ เช่น Fe, Co, และ Ni สามารถแสดงสมบัติเป็นแม่เหล็กได้เมื่อนำไปวางไว้ในสนามแม่เหล็กนาน ๆ นอกจากนี้ยังมีสารประกอบของธาตุแทรนซิชันอีกหลายชนิดที่สามารถดูดกับแม่เหล็กได้ 3. สารประกอบส่วนใหญ่ มีสี (ยกเว้นหมู่ IIIB) ซึ่งเป็นสีของไอออนเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน 4. ธาตุแทรนซิชันมีแนวโน้มที่จะเกิดสารประกอบเชิงซ้อนได้ 5. มีเวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากับ 2 (ยกเว้น Cr, และ Cu มีเวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1) และอิเล็กตรอนถัดจากวงนอกสุดไม่ครบ 18 (ยกเว้น Cu และ Zn)

  6. สมบัติของธาตุแทรนซิชันสมบัติของธาตุแทรนซิชัน • รัศมีอะตอมมีแนวโน้มลดลงจากซ้ายไปขวาของคาบ (หรือเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น รัศมีอะตอมจะเล็กลง) ซึ่งเหมือนกับธาตุในคาบเดียวกันทั่วๆ ไป) • มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดค่อนข้างสูง เพราะมีพันธะโลหะ • หนาแน่นเพิ่มขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น เนื่องจากมวลเพิ่มขึ้นในขณะที่ขนาดเล็กลง • ค่า IE1 , IE2 , และ IE3 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น แต่ค่าต่างกันไม่มากนัก เพราะขนาดใกล้เคียงกัน • อิเล็กโทรเนกาติวิตีมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น • เป็นโลหะที่นำความร้อนและนำไฟฟ้าได้ดีเหมือนกับโลหะทั่ว ๆ ไป ทั้งนี้เพราะมีพันธะโลหะ • ขนาดอะตอมในคาบเดียวกันจะเล็กลงจากซ้ายไปขวาเล็กน้อย และขนาดอะตอมเล็กกว่าธาตุหมู่ IA และ IIA ในคาบเดียวกัน

  7. สมบัติของธาตุแทรนซิชันสมบัติของธาตุแทรนซิชัน รัศมีอะตอม

  8. สมบัติของธาตุแทรนซิชันสมบัติของธาตุแทรนซิชัน Transition metal densities

  9. พลังงานไอออไนเซชันของโลหะแทรนซิชันแถวแรกพลังงานไอออไนเซชันของโลหะแทรนซิชันแถวแรก

  10. เลขออกซิเดชันของธาตุแทรนซิชันเลขออกซิเดชันของธาตุแทรนซิชัน เลขออกซิเดชันที่เสถียรที่สุดแสดงไว้ด้วยสีแดง

  11. สมบัติทางกายภาพของธาตุ K ถึงธาตุ Zn

  12. สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชันสารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน * โลหะแทรนซิชันมีโครงสร้างทางอิเล็กตรอนที่แตกต่างไปจากโลหะหมู่ที่ IA และหมู่  IIA คือสามารถรวมกับไอออน  หรือหมู่ไอออน โมเลกุลหรือสารบางชนิดที่มีอิเล็กตรอนคู่ว่างอยู่เกิดเป็นสารประกอบโคเวเลนต์ที่เรียกว่า สารประกอบโคออดิเนชันหรือสารประกอบเชิงซ้อน (Complex  Compound) สารประกอบเชิงซ้อน คือ สารประกอบที่มีไอออนเชิงซ้อนเป็นองค์ประกอบอยู่ด้วย ส่วนมากเกิด กับธาตุแทรนซิชัน ไอออนเชิงซ้อน คือ สารที่เกิดจากไอออนลบ (anions) หรือโมเลกุลที่เป็นกลางไม่มีประจุจำนวน หนึ่ง หรือมากกว่านั้นมาสร้างพันธะเคมีกับไอออนกลางของโลหะ เช่น Cu(NH3)42+, ไอออนเชิงซ้อนมี 2 ชนิดคือ ไอออนเชิงซ้อนที่เป็นไอออนบวก และไอออนลบ

  13. สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชันสารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน อะตอมกลางหรือไอออนกลาง(Central atom ion) คือ อะตอมของธาตุที่อยู่แกนกลางของสารเชิงซ้อน ส่วนมาก ได้แก่ โลหะแทรนซิชัน ลิแกนด์ คือ ไอออนหรือโมเลกุลที่ล้อมรอบอะตอมกลางหรือไอออนกลาง สารพวกนี้เป็นสารที่มีอะตอมของธาตุที่มีอิเล็กตรอนคู่อิสระอยู่ เช่น F-, Br-, OH-, SCN-, S2-,CO, NH3, H2O เป็นต้น พันธะระหว่างลิแกนด์ และโลหะแทรนซิชันที่อยู่กลางในสารเชิงซ้อนเป็นพันธะโคเวเลนต์ และจำนวนลิแกนด์ที่ล้อมรอบโลหะแทรนซิชันที่อยู่กลาง เรียกว่า เลขโคออร์ดิเนชัน และเลขโคออร์ดิเนชันเป็นเท่าใดนั้นขึ้นอยู่กับชนิดของธาตุแทรนซิชัน เลขออกซิเดชันของโลหะแทรนซิชัน และชนิดของลิแกนด์ด้วย

  14. N O - • • • • • • • • • • • • • • • • • • C O Cl H H H H H สารประกอบโคออร์ดิเนชัน (Coordination Compound) สารประกอบโคออร์ดิเนชัน โดยทั่วไปประกอบด้วยไอออนเชิงซ้อน (complex ion) และไอออนที่มีประจุตรงข้าม(counter ion) ไอออนเชิงซ้อน ประกอบด้วย โลหะที่มีประจุบวกตรงกลาง (centralmetal cation)เกิดพันธะกับโมเลกุลหรือไอออนตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป โมเลกุลหรือไอออนที่ล้อมรอบโลหะที่อยู่ตรงกลาง เรียกว่า “ลิแกนด์ (ligand)” ลิแกนด์จะมีอิเลกตรอนวงนอกสุดที่ไม่ได้ใช้ในการเกิดพันธะโคเวเลนท์ (unshared pair of valence electrons)อยู่อย่างน้อย 1 คู่

  15. สารประกอบโคออร์ดิเนชันสารประกอบโคออร์ดิเนชัน N O • • • • • • H H H H H อะตอมในลิแกนด์ที่เกิดพันธะโดยตรงกับโลหะอะตอมกลางเรียกว่า “อะตอมดอนเนอร์ (donor atom)” จำนวนของอะตอมดอนเนอร์ที่ล้อมรอบโลหะตรงกลางในสารประกอบโคออร์ดิเนชันเรียกว่า “เลขโคออร์ดิเชัน (coordination number)” ลิแกนด์ที่มี: อะตอมดอนเนอร์ 1 ตัว เรียกว่า monodentate H2O, NH3, Cl- อะตอมดอนเนอร์ 2 ตัว เรียกว่า bidentate ethylenediamine อะตอมดอนเนอร์ 3 ตัวขึ้นไป เรียกว่า polydentate EDTA

  16. ตัวอย่างลิแกนด์ที่พบบ่อยๆ

  17. จงหาเลขออกซิเดชันของโลหะในสารเหล่านี้จงหาเลขออกซิเดชันของโลหะในสารเหล่านี้ K[Au(OH)4] และ [Cr(NH3)6](NO3)3 OH-มีประจุเป็น -1 K+ มีประจุเป็น +1 ? Au + 1 + 4x(-1) = 0 NO3- มีประจุเป็น -1 Au = +3 NH3ไม่มีประจุ (เป็นกลาง) ? Cr + 6x(0) + 3x(-1) = 0 Cr = +3

  18. Common ligands

  19. โครงสร้างของสารประกอบเชิงซ้อน

  20. โครงสร้างของไอออนเชิงซ้อนโครงสร้างของไอออนเชิงซ้อน

  21. ธาตุแทรนซิชันและสารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชันธาตุแทรนซิชันและสารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน

  22. สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชันสารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน

  23. สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชันสารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน ตารางแสดงสารประกอบเชิงซ้อนบางชนิดและไอออนองค์ประกอบ

  24. สมบัติบางประการของสารประกอบของโครเมียมและแมงกานีสไอออนสมบัติบางประการของสารประกอบของโครเมียมและแมงกานีสไอออน Cr Mn +6 +6 +7 H+ H+ Cr3+ + O2(g) Cr2O72- + H2O2 MnO42- MnO4- สีเขียว สีส้ม สีเขียว สีม่วงแดง S2- H+ OH- H+กับ S2- NaOH Cr2+ +6 +4 สีน้ำเงิน Mn2+ CrO42- MnO2 สีชมพูอ่อน สีเหลือง สีดำ OH- +3 Mn(OH)3 สีน้ำตาล

  25. สีของสารประกอบของโครเมียมและแมงกานีสในน้ำสีของสารประกอบของโครเมียมและแมงกานีสในน้ำ *ไม่ละลายน้ำ

  26. การเตรียมสารประกอบเตตระแอมมีนคอปเปอร์ (II) ซัลเฟต เตรียมโดยนำ CuSO4.5H2Oซึ่งเป็นผลึกสีฟ้ามาละลายน้ำ แล้วเติม NH3และ เอทานอล จะได้ผลึกสีครามเข้ม เมื่อตั้งทิ้งไว้ข้ามคืนจะเปลี่ยนเป็นสารสีเขียวแกมฟ้า ดังสมการ CuSO4.5H2O + 4NH3 Cu(NH3)4SO4.H2O + 4H2O (สีฟ้า) (สีคราม) ทิ้งไว้ข้ามคืน Cu(NH3)3SO4 + NH3+ H2O (สีเขียวแกมฟ้า)

  27. สารประกอบเชิงซ้อนขอธาตุแทรนซิชันสารประกอบเชิงซ้อนขอธาตุแทรนซิชัน

  28. การเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อนการเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน • เรียกชื่อไอออนบวกก่อนไอออนลบ เช่นเดียวกับการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก • การเรียกชื่อไอออนเชิงซ้อน ให้เรียกชื่อลิแกนด์ก่อนแล้วตามด้วยชื่อของไอออนของธาตุแทรนซิชัน • **การเรียกชื่อลิแกนด์ • 1) ไอออนลบที่ลงท้ายด้วย -ide เปลี่ยนเป็น -o

  29. การเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อนการเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน • **การเรียกชื่อลิแกนด์ • 2) ไอออนลบที่ลงท้ายด้วย –ite หรือ –ate เปลี่ยนเป็น –ito, –ato

  30. การเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อนการเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน • **การเรียกชื่อลิแกนด์ • 3)ลิแกนด์ที่ไม่มีประจุหรือเป็นกลาง : ให้เรียกเหมือนกับโมเลกุลที่เป็นกลาง ยกเว้น

  31. การเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อนการเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน • **การเรียกชื่อลิแกนด์ • 4)ถ้าสารประกอบเชิงซ้อนมีลิแกนด์ชนิดเดียวกันมากกว่าหนึ่ง : ให้บอกจำนวนที่ซ้ำกันไว้หน้าชื่อลิแกนด์ด้วยภาษากรีก

  32. การเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อนการเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน **การเรียกชื่อไอออนเชิงซ้อน 1)ถ้าไอออนเชิงซ้อนมีประจุเป็นลบ : ให้เรียกชื่อลิแกนด์แล้วตามด้วยชื่อโลหะ และเปลี่ยนคำลงท้ายเป็น –ate และใส่เลขออกซิเดชันไว้ในวงเล็บต่อจากชื่อโลหะด้วยเลขโรมัน

  33. การเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อนการเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน **การเรียกชื่อไอออนเชิงซ้อน 2)ไอออนเชิงซ้อนที่มีประจุเป็นลบ : ชื่อโลหะบางตัวมีชื่อเรียกเป็นภาษาละติน ให้ใช้ภาษาละตินและลงท้ายด้วย –ate

  34. การเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อนการเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน 3. ในกรณีที่สารประกอบเชิงซ้อนนั้นมีลิแกนด์หลายชนิด ให้เรียกชื่อลิแกนด์ที่มีประจุลบก่อน ตามด้วยลิแกนด์ที่เป็นกลาง และลิแกนด์ที่มีประจุบวกไว้ท้ายสุด

  35. การเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อนการเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน ตัวอย่าง การเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน

  36. ธาตุกึ่งโลหะ (Metalloids) ธาตุกึ่งโลหะ คือ ธาตุที่มีสมบัติบางประการคล้ายโลหะ และมีสมบัติบางประการคล้ายอโลหะ ได้แก่ B (โบรอน) Si (ซิลิกอน) Ge (เจอร์เมเนียม) As (อาร์เซนิก) Sb (แอนติโมนี) Te (เทลลูเรียม) Po (โพโลเนียม) At (แอสทาทีน)

  37. ธาตุกึ่งโลหะ โบรอน(B) - มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสูงเหมือนโลหะ แต่เปราะ และไม่นำไฟฟ้า - มีโครงสร้างแบบโครงผลึกร่างตาข่ายที่แข็งแรงมาก มีรูปผลึกหลายรูป

  38. ธาตุกึ่งโลหะ ซิลิกอน (Si) - เป็นผลึกสีเทาเงิน มีจุดเดือด จุดหลอม เหลวสูงเหมือนโลหะ แต่เปราะเหมือนอโลหะ - เป็นสารกึ่งตัวนำ - อะตอมของ Si ยึดต่อกันในรูปโครงผลึก ร่างตาข่าย - ใช้ทำแผงวงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์

  39. ธาตุกึ่งโลหะ เจอร์เมเนียม (Ge)มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสูงเหมือนโลหะ แต่เปราะเหมือนอโลหะ เป็นธาตุกึ่งตัวนำ ใช้ทำส่วนประกอบของอิเล็กทรอนิกส์ อาร์เซนิก (As)มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวค่อนข้างสูง นำไฟฟ้าได้เหมือนโลหะ แต่เปราะ

More Related