250 likes | 692 Views
สถิติธุรกิจ. BUSINESS STATISTICS. หน่วยที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ. ความเป็นมาของสถิติ. เริ่มพัฒนาเรื่อยมานับตั้งแต่สมัย 500 – 600 ปีก่อนคริสตกาลในยุคของนักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ชื่อ Pythagoras ได้มีการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
E N D
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ
ความเป็นมาของสถิติ เริ่มพัฒนาเรื่อยมานับตั้งแต่สมัย 500 – 600 ปีก่อนคริสตกาลในยุคของนักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ชื่อ Pythagoras ได้มีการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ในระหว่างปี ค.ศ. 1667 – 1754 ได้มีการค้นพบโค้งปกติ(Normal Curve) คำว่าสถิติก่อกำเนิดในปี ค.ศ. 1749 โดยศาสตราจารย์กอทท์ฟรายด์อาเซนวอลล์ ( Gottfried Achenwall) แห่งประเทศเยอรมัน ได้บัญญัติศัพท์คำว่า Statistik และ อี เอ ดับบลิว ซิมเมอร์แมน ( E.A.W Zimmerman) ได้นำคำนี้มาใช้ในภาษาอังกฤษว่า Statistics จนถึงปัจจุบัน
ขอบข่ายของสถิติ ความหมายของสถิติ • ชุดข้อมูลตัวเลขที่แทนข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆ • สถิติในความหมายของศาสตร์แขนงหนึ่งที่เกี่ยวกับวิธีที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลที่เรียกว่า “ระเบียบวิธีทางสถิติ”
สถิติในความหมายของศาสตร์นี้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท • สถิติเชิงพรรณนา ( Descriptive Statistic)เป็นระเบียบวิธีทางสถิติที่มุ่งศึกษาและอธิบายลักษณะต่างๆ ของกลุ่มตัวอย่างหรือประชากรที่ศึกษาเท่านั้น โดยทำการเก็บรวมรวมจากทุกหน่วยประชากรเป้าหมาย ทำการสรุปและแปลความหมายภายในกลุ่มประชากรเป้าหมายเท่านั้น เริ่มตังแต่การแยกประเภท การนำเสนอข้อมูลในรูปของตาราง กราฟ ตลอดจนการแจกแจงความถี่ของข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
2. สถิติเชิงอนุมาน(Inferential Statistics) เป็นสถิติที่มุ่ง ศึกษาและอธิบายลักษณะต่างๆของประชากร โดยรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งสุ่มมาจากประชากรที่ต้องการศึกษา ทำการวิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างและสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลไปสู่กลุ่มประชากรโดยใช้ทฤษฎีความน่าจะเป็นมาประกอบกับข้อมูลสถิติ เพื่ออ้างอิงถึงลักษณะของประชากร วิธีการของสถิติเชิง อนุมานแยกย่อยได้หลายวิธี ได้แก่ การทดสอบสมมุติฐาน การประมาณค่า
ข้อมูลสถิติ ข้อมูลดิบ ข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อมูล ข้อมูลปฐมภูมิ ข้อมูลทุติยภูมิ แหล่งที่มา ข้อมูล(Data)
1. ข้อมูลนามบัญญัติ 2. ข้อมูลเรียงลำดับ ชนิดของข้อมูล 4. ข้อมูลอัตราส่วน 3. ข้อมูลอันตรภาค
การสำมะโน การสำรวจ คำศัพท์ สิ่งตัวอย่าง ประชากร พารามิเตอร์ ค่าสถิติ
การสุ่มตัวอย่าง 2.การสุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็น 1.การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น
การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็นการสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น แบบได้มาโดยบังเอิญ ตามวัตถุประสงค์ ตามโควต้า
2.วิธีสุ่มแบบมีระบบ 1.วิธีสุ่มอย่างง่าย การสุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็น 3.วิธีสุ่มแบบแบ่งชั้น 5.วิธีสุ่มแบบหลายชั้น 4.วิธีสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม
ประโยชน์ของสถิติ 1.ระดับบุคคลและครัวเรือน 3.ระดับประเทศ 2.ระดับหน่วยงานธุรกิจเอกชน
2.การนำเสนอข้อมูล 1.การรวบรวมข้อมูล ระเบียบวิธีทางสถิติ 4.การแปลความหมายข้อมูล 3.การวิเคราะห์ข้อมูล
2.จากทะเบียนประวัติ 1.จากการสำรวจ 1.การรวบรวมข้อมูลสถิติ 4.จากการสังเกต 3.จากการทดลอง
2.รูปกึ่งตารางกึ่งบทความ2.รูปกึ่งตารางกึ่งบทความ 1.รูปบทความ 2.การนำเสนอข้อมูล 3.รูปตาราง 4. รูปแผนภูมิและแผนภาพ
การนำเสนอในรูปตาราง 3.ตารางหลายทาง 1.ตารางทางเดียว 2.ตารางสองทาง
2.แผนภูมิแท่ง 1.แผนภูมิรูปภาพ การนำเสนอในรูปแผนภูมิหรือแผนภาพ 3.แผนภูมิวงกลม 5.แผนที่สถิติ 4.แผนภูมิเส้น