150 likes | 361 Views
การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม จังหวัดมหาสารคาม. โดย ว่าที่ร.ต.จักรภัทร ผ่องโอภาส เกษตรจังหวัดมหาสารคาม. ผลการ ตรวจสอบ พื้นที่. การส่งเสริมและการปรับเปลี่ยนพื้นที่. 1,385,902. 793,095. ผลการสำรวจความต้องการของเกษตรกร ปรับเปลี่ยนพื้นที่นาไม่เหมาะสมเป็นกิจกรรมอื่น.
E N D
การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม จังหวัดมหาสารคาม โดย ว่าที่ร.ต.จักรภัทร ผ่องโอภาส เกษตรจังหวัดมหาสารคาม
การส่งเสริมและการปรับเปลี่ยนพื้นที่การส่งเสริมและการปรับเปลี่ยนพื้นที่ 1,385,902 793,095
ผลการสำรวจความต้องการของเกษตรกรปรับเปลี่ยนพื้นที่นาไม่เหมาะสมเป็นกิจกรรมอื่นผลการสำรวจความต้องการของเกษตรกรปรับเปลี่ยนพื้นที่นาไม่เหมาะสมเป็นกิจกรรมอื่น
แผนที่ปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกข้าวไม่เหมาะสมเป็นอ้อยโรงงาน รัศมี 50 กิโลเมตร จังหวัดมหาสารคาม บริษัทน้ำตาลขอนแก่น จำกัด บริษัทน้ำตาลมิตรภูเวียง จำกัด บริษัทน้ำตาลมิตรกาฬสินธุ์ จำกัด 1. บริษัทน้ำตาลขอนแก่จำกัด ดูแลพื้นที่ อำเภอเชียงยืน/ชื่นชม 2. บริษัทนำตาลมิตรภูเวียง จำกัด ดูแลพื้นที่ อำเภอเชียงยืน/ชื่นชม บริษัทน้ำตาลวังขนาย จำกัด 3. บริษัทน้ำตาลวังขนาย จำกัด ดูแลพื้นที่ทั้งจังหวัด 4. บริษัทน้ำตาลบุรีรัมย์ จำกัด ดูแลพื้นที่ อำเภอนาเชือก 5. บริษัทน้ำตาลมิตรกาฬสินธุ์ จำกัด ดูแลพื้นที่ อำเภอชื่นชม บริษัทน้ำตาลบุรีรัมย์ จำกัด
สรุปกำลังการผลิต/ความต้องการผลผลิตอ้อยโรงงานสรุปกำลังการผลิต/ความต้องการผลผลิตอ้อยโรงงาน <-------------ไม่รับซื้ออ้อยจากจังหวัดมหาสารคาม-------->
สรุปมาตรการจูงใจ/สนับสนุนของโรงงานและจังหวัด ปี 2557 บริษัทน้ำตาลวังขนาย จำกัด * เงินเกี้ยว 5,500 – 6,000 บาท/ไร่ ยืมล่วงหน้า เป็นค่าปุ๋ย, พันธุ์, เตรียมดิน, ค่ายา โรงงานน้ำตาลขอนแก่น จำกัด * เงินเกี้ยว 5,000 บาท/ไร่ ยืมล่วงหน้า เป็นค่าปุ๋ย, พันธุ์, เตรียมดิน, ค่ายา (ไม่เกิน 100,000 บาท/คน หากเกินต้องมีหลักทรัพย์ค้ำประกันเพิ่มเติม) * เงินให้เปล่า 500 บาท/ไร่ (กรณีเป็นพื้นที่ปลูกใหม่) จังหวัดสนับสนุน งบประมาณ (800 บาท/ไร่) 1. ค่าปุ๋ยอินทรีย์ 100 กก./ไร่ กก.ละ 7 บาท = 700 บาท/ไร่ 2. ค่าสารเพิ่มประสิทธิภาพ 100 บาท/ไร่ = 100 บาท/ไร่
แผนการปรับเปลี่ยนนาข้าวไม่เหมาะสมเป็นอ้อยโรงงาน ปี 2557-2560
แผนที่ปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกข้าวไม่เหมาะสมเป็นอ้อยโรงงาน รัศมี 50 กิโลเมตร 4 อำเภอ เป้าหมาย ปี 2557 อำเภอชื่นชม 577 ราย 3,375 ไร่ อำเภอนาเชือก 1,131 ราย 5,592 ไร่ อำเภอเชียงยืน 352 ราย 3,993 ไร่ อำเภอโกสุมพิสัย 1,200 ราย 6,500 ไร่
การสนับสนุนงบประมาณจากจังหวัดการสนับสนุนงบประมาณจากจังหวัด จังหวัดมหาสารคาม จะดำเนินการโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2557 โครงการพัฒนาคุณภาพและผลผลิตข้าวหอมมะลิจังหวัดด้วยระบบ GAP ต่อ ก.น.จ.เพื่อมาดำเนินการลดพื้นที่ปลูกข้าว ส่งเสริมการปลูกอ้อยแทน เป็นเงิน 17,841,170 บาท ( เป็นค่าปุ๋ยอินทรีย์ 100 กก./ไร่ กก.ละ 7 บาท = 700 บาท/ไร่ และค่าสารเพิ่มประสิทธิภาพ 100 บาท/ไร่ = 100 บาท/ไร่)
สรุปโครงการเพิ่มประสิทธิภาพ (พื้นที่เหมาะสม) ปี 2557 1) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าว GAP และข้าวอินทรีย์ - งบประมาณ 5,000,000 บาท - พื้นที่(S1+S2) จำนวน 10 อำเภอ 2,000 ไร่ เกษตรกร 200 ราย ( ศูนย์ข้าวชุมชน 10 ศูนย์ๆละ 20 ราย)
สรุปโครงการปรับเปลี่ยน(พื้นที่ไม่เหมาะสม) ปี 2557 1) โครงการปรับเปลี่ยนพื้นที่นาไม่เหมาะสมเป็นปลูกอ้อย - งบประมาณ 17,423,270 บาท - วัตถุประสงค์ของโครงการ ปรับเปลี่ยนพื้นที่นาไม่เหมาะสมเป็นปลูกอ้อย - เป้าหมาย เกษตรกรมีรายได้จากการขายอ้อย (ราคาอ้อยประมาณ 1,500 บาท/ตัน) - ผลผลิตโครงการ (output) ลดพื้นที่นาไม่เหมาะสมเป็นพื้นที่ปลูกอ้อย จำนวน 19,460 ไร่ - ผลลัพธ์ของโครงการ (outcome) เกษตรกรมีผลผลิตต่อไร่สูงขึ้น จาก 10 ตัน/ไร่ เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 12 ตัน/ไร่ 2) โครงการส่งเสริมการผลิตมันสำปะหลัง - งบประมาณ 2,900,000 บาท -พื้นที่ (S1+S2) จำนวน 1,000 ไร่ เกษตรกร 200 ราย 3) โครงการพัฒนาโคเนื้อ - งบประมาณ 3,000,000 บาท - ตำบลที่มีความเหมาะสม จำนวน 108 ตำบล รวม 5,000 ราย (โดยจัดตั้งกลุ่มจากทุกอำเภอๆละ 2 กลุ่ม รวม 26 กลุ่มๆละ 193 ราย รวม 5,000 ราย)
การดำเนินงานบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมการดำเนินงานบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม การจัดตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมของจังหวัด /คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมของจังหวัด /คณะทำงานฯระดับอำเภอและระดับตำบล
การจัดเวทีประชาคมสร้างความเข้าใจเกษตรกรในพื้นที่การจัดเวทีประชาคมสร้างความเข้าใจเกษตรกรในพื้นที่ * ผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม (นายนพวัชร สิงห์ศักดา) พร้อมส่วนราชการที่เกี่ยวข้องดำเนินจัดเวทีประชาคม * จัดเวทีประชาคม ณ อำเภอชื่นชม และเชียงยืน * มีผู้แทนจากโรงงานน้ำตาลวังขนาย โรงงานน้ำตาลมิตรกาฬสินธุ์ โรงงานน้ำตาลน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น เข้าร่วมกิจกรรม * รูปแบบกิจกรรม เป็นการเสวนาการปรับเปลี่ยนพื้นที่ข้าวเป็นอ้อยบนเวที การจัดนิทรรศการความรู้การปลูกอ้อย
ผลการปรับเปลี่ยนพื้นที่นาไม่เหมาะสมเป็นปลูกอ้อยโรงงาน ปี 2556/57 เป้าหมายเกษตรกร 3,260 ราย พื้นที่ 19,982 ไร่ ปลูกจริง เกษตรกร 1,521 ราย พื้นที่ 14,101 ไร่