1 / 72

สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ

สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ. สำนักงานคลังจังหวัดสุโขทัย. ระบบสวัสดิการในประเทศไทย. สิทธิประกันสังคม (1506). สิทธิกรมบัญชีกลาง ( 02 127 7000 ). สิทธิท้องถิ่น. สิทธิรัฐวิสาหกิจ. สิทธิองค์กรอิสระ. สิทธิหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ (1330). ที่มาของกฎหมาย. พระราชบัญญัติ.

gail-wiley
Download Presentation

สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ สำนักงานคลังจังหวัดสุโขทัย

  2. ระบบสวัสดิการในประเทศไทยระบบสวัสดิการในประเทศไทย สิทธิประกันสังคม (1506) สิทธิกรมบัญชีกลาง (02 127 7000) สิทธิท้องถิ่น สิทธิรัฐวิสาหกิจ สิทธิองค์กรอิสระ สิทธิหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ (1330)

  3. ที่มาของกฎหมาย พระราชบัญญัติ การกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจ่ายเงินบางประเภทตามงบประมาณรายจ่าย พ.ศ. 2518 พระราชกฤษฎีกา เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ.2555 หลักเกณฑ์ หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยวิธีการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 หนังสือเวียนต่าง ๆ

  4. ผู้มีสิทธิ และบุคคลในครอบครัว ผู้มีสิทธิ เจ้าของสิทธิ / ผู้ทรงสิทธิ สิทธิเกิดจากบุคคลดังกล่าว รับราชการ หรือรับเบี้ยหวัดบำนาญ บุคคลในครอบครัว ผู้อาศัยสิทธิ ชอบด้วยกฎหมาย (มีหลักฐานทางราชการรับรอง) ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ บิดา มารดา ผู้รับเบี้ยหวัด ผู้รับบำนาญพิเศษเหตุทุพลภาพ ผู้รับบำนาญ คู่สมรส ลูกจ้างชาวต่างชาติ บุตร ( 3 คน )

  5. ผู้มีสิทธิ วันเข้ารับราชการ เริ่ม วันรับบำนาญ วันลาออก สิ้นสุด วันเกษียณ วันเสียชีวิต ไล่ออก พักราชการ

  6. ตัวอย่าง 85 ปี 60 ปี 60 ปี 1 เดือน 25 ปี รับราชการ รับบำนาญ เกษียณ เสียชีวิต พักราชการ ไล่ออก ลาออก เสียชีวิต

  7. บุคคลในครอบครัวที่ชอบด้วยกฎหมายบุคคลในครอบครัวที่ชอบด้วยกฎหมาย หลักฐานทางราชการ สูติบัตร (ผู้มีสิทธิ) ทะเบียนบ้าน (ผู้มีสิทธิ)

  8. บุคคลในครอบครัวที่ชอบด้วยกฎหมายบุคคลในครอบครัวที่ชอบด้วยกฎหมาย หลักฐานทางราชการ ทะเบียนสมรส (บิดา-มารดา) ทะเบียนรับรองบุตร (คร.11) คำสั่งศาล(แผนกคดีเยาวชนและครอบครัว)

  9. การรับรองบุตร (คร. ๑๑) ว. ๔๕๖

  10. การรับรองบุตร (คร. ๑๑) หมายเหตุ มารดาหรือบุตรไม่ให้ความยินยอม

  11. บุคคลในครอบครัวที่ชอบด้วยกฎหมายบุคคลในครอบครัวที่ชอบด้วยกฎหมาย หลักฐานทางราชการ ทะเบียนสมรสไทย หรือ ทะเบียนสมรส ตปท.

  12. บุคคลในครอบครัวที่ชอบด้วยกฎหมายบุคคลในครอบครัวที่ชอบด้วยกฎหมาย หลักฐานทางราชการ สูติบัตร (บุตร) หรือ ทะเบียนบ้าน (บุตร)

  13. บุคคลในครอบครัวที่ชอบด้วยกฎหมายบุคคลในครอบครัวที่ชอบด้วยกฎหมาย หลักฐานทางราชการ อย่างใดอย่างหนึ่ง ทะเบียนสมรส (ผู้มีสิทธิกับคู่สมรส) ทะเบียนรับรองบุตร (คร.11) คำสั่งศาล(แผนกคดีเยาวชนและครอบครัว)

  14. บุตร (บุตรชอบด้วยกฎหมายลำดับที่ 1 – 3) เกิดสิทธิ: วันคลอด หมดสิทธิ: บรรลุนิติภาวะ แบ่งเป็น 2 กรณี (1) อายุ 20 ปีบริบูรณ์ (2) จดทะเบียนสมรส

  15. บุตร เรียงลำดับการเกิด แทนที่เฉพาะตายก่อนบรรลุนิติภาวะ

  16. บุตร

  17. บุตรแฝด หากผู้มีสิทธิหรือคู่สมรสของผู้มีสิทธิที่ยังไม่มีบุตร หรือมีบุตรแล้วแต่ยังไม่ครบ 3 คน ต่อมามีบุตรแฝดและทำให้มีบุตรเกิน 3 คน ก็ให้เบิกค่ารักษาพยาบาลให้กับบุตรได้ทั้งหมด เช่น

  18. บุตรบุญธรรม กรณีบุตรบุญธรรมเป็นเจ้าของสิทธิ ผู้รับบุตรบุญธรรมไม่ได้รับสิทธิสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล แต่บิดามารดาที่แท้จริง (ชอบด้วยกฎหมาย) ได้รับสิทธิ • กรณีผู้รับบุตรบุญธรรมเป็นเจ้าของสิทธิ บุตรบุญธรรม ก็ไม่ได้รับสิทธิในฐานะบุคคลในครอบครัว • กรณีบิดามารดาชอบด้วยกฎหมายเป็นเจ้าของสิทธิ บุตรที่ยกให้เป็นบุตรบุญธรรมผู้อื่นแล้วก็ไม่สามารถใช้สิทธิได้

  19. ข้อยกเว้นการเบิกค่ารักษาบุตรข้อยกเว้นการเบิกค่ารักษาบุตร กรณีบุตรบรรลุนิติภาวะแล้ว แต่ เป็นบุคคลไร้ความสามารถ หรือ เสมือนไร้ความสามารถ และ อยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของบิดาหรือมารดาซึ่งเป็นผู้มีสิทธิ

  20. เงื่อนไขของบุตรชอบด้วยกฎหมายเงื่อนไขของบุตรชอบด้วยกฎหมาย

  21. การรายงานข้อมูลและการเลือกสิทธิการรายงานข้อมูลและการเลือกสิทธิ

  22. การรายงานข้อมูลผู้มีสิทธิ และบุคคลในครอบครัว ให้ผู้มีสิทธิมีหน้าที่รายงานข้อมูลของตนเอง และบุคคลในครอบครัว ต่อส่วนราชการเจ้าสังกัด พร้อมรับรองความถูกต้องตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงการคลังกำหนด(มาตรา 5 วรรค 2) หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0422.2/ว 376 ลงวันที่ 30 กย. 53

  23. การรายงานข้อมูลผู้มีสิทธิ และบุคคลในครอบครัว

  24. การเลือกสิทธิ และสิทธิซ้ำซ้อน สิทธิที่เกิดจากการเป็นบุคคลในครอบครัว (ผู้อาศัยสิทธิ) สิทธิที่เกิดจากตนเอง (เจ้าของสิทธิ) 22

  25. สิทธิซ้ำซ้อน 23

  26. สิทธิซ้ำซ้อน

  27. สิทธิซ้ำซ้อน

  28. การเลือกสิทธิของผู้มีสิทธิการเลือกสิทธิของผู้มีสิทธิ ผู้มีสิทธิเลือกว่าจะใช้สิทธิตามพระราชกฤษฎีกา หรือจากหน่วยงานอื่น(มาตรา 10 วรรค 1) บุคคลในครอบครัวไม่สามารถเลือกได้ ต้องใช้สิทธิหลักของตนเอง (มีสิทธิในฐานะเจ้าของสิทธิจากหน่วยงานอื่น) หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0422.2/ว 377 ลงวันที่ 30 กย. 53

  29. การเลือกสิทธิของผู้มีสิทธิการเลือกสิทธิของผู้มีสิทธิ

  30. รายการและอัตรา

  31. แนวคิดหลัก (ด้านการรักษาพยาบาล) พบแพทย์ เจ็บป่วย เบิกได้ รักษา

  32. ค่ารักษาพยาบาล ? “ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาล” เช่นค่ารถRefer เช่นค่ากายภาพ

  33. ค่าตรวจสุขภาพประจำปีตามพระราชกฤษฎีกาเดิม)ค่าตรวจสุขภาพประจำปีตามพระราชกฤษฎีกาเดิม)

  34. ค่าตรวจสุขภาพประจำปี(อายุต่ำกว่า 35 ปี)

  35. ค่าตรวจสุขภาพประจำปี (อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป)

  36. การตรวจเอกซเรย์ปอด (Chest X-Ray) ว. ๓๖๒

  37. ค่ายา • ค่ายา หลักเกณฑ์ ข้อยกเว้น มีคุณสมบัติในการรักษาโรค ไม่เสริมสวย ไม่ป้องกัน อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ เบิกได้หากแพทยผู้รักษาออกหนังสือรับรองระบุเหตุผล A - E ยามะเร็ง 6 ชนิด ยากลุ่มโรครูมาติก และสะเก็ดเงิน ยาสมุนไพร และยาแผนไทย วิตามิน และแร่ธาตุ ยาควบคุม 9 กลุ่ม

  38. ยามะเร็ง 6 ชนิด • ค่ายา (ด่วนที่สุด ที่ กค.0417/ว. 37ลงวันที่ 3 กรกฎาคม 2550)

  39. ยามะเร็ง 6 ชนิด • ค่ายา

  40. ยารักษากลุ่มโรครูมาติก และสะเก็ดเงิน • ค่ายา (ด่วนที่สุด ที่ กค. 0422.2/ว. 124ลงวันที่ 2 เมษายน 2553)

  41. ยาสมุนไพร ยาแผนไทย • ค่ายา (ที่ กค. 0422.2/ว. 33 ลงวันที่ 11 เมษายน 2554)

  42. ยาสมุนไพร ยาแผนไทย 4 ประเภท • ค่ายา (ที่ กค. 0422.2/ว. 33 ลงวันที่ 11 เมษายน 2554) ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ (ไม่รวมน้ำมันไพล เจลพริก) ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณตามประกาศ สธ. เภสัชตำรับ รพ. (รพ.ผลิตเอง) ยาที่ปรุงสำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย • 1. แพทย์แผนปัจจุบัน • 2. แพทย์แผนไทย (มีใบประกอบโรคศิลปะ สาขาแพทย์แผนไทยประเภทเวชกรรมแผนไทย หรือสาขาแพทย์แผนไทยประยุกต์) • หมายเหตุ : การสั่งใช้ยาให้เป็น ไปตามการสั่งใช้ของ

  43. วิตามินและแร่ธาตุ ว. ๗๒

  44. ค่าบริการฝังเข็ม และค่านวด • ค่ายา (ที่ กค. 0422.2/ว. 33 ลงวันที่ 11 เมษายน 2554)

  45. เงื่อนไขการให้บริการของสถานพยาบาลเงื่อนไขการให้บริการของสถานพยาบาล • ค่ายา (ที่ กค. 0422.2/ว. 33 ลงวันที่ 11 เมษายน 2554) แพทย์บันทึกข้อมูลการรักษา ในเวชระเบียนเพื่อการตรวจสอบ สถานพยาบาลออกใบเสร็จค่ายาสมุนไพรตามประเภทที่ กค. กำหนด (ประเภทที่ 1 - 4) ห้ามแพทย์ หรือ คกก.แพทย์ออกหนังสือรับรองยาสมุนไพรนอกเหนือจากที่ กค. กำหนด แพทย์ออกหนังสือรับรองประกอบการรักษา (นวด ประคบ อบสมุนไพร) เพื่อเป็นหลักฐานประกอบการเบิกจ่าย โดยระบุระยะเวลาเริ่ม-สิ้นสุดให้ชัดเจน

  46. ค่ายา ยาควบคุม 9 กลุ่ม ประกาศรายการยาที่ห้ามเบิกจ่าย (ยาลดข้อเข่าเสื่อมหรือGlucosamine)ตามหนังสือกรมบัญชีกลางที่กค 0422.2/ ว 127 ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2553 (มีผลบังคับใช้วันที่ 1 มกราคม 2554) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

  47. ว. 127 ว. 62 การดำเนินการ 1 มค. 2554 28มิย. 2554

  48. เงื่อนไขการเบิกยาข้อเข่าเสื่อมเงื่อนไขการเบิกยาข้อเข่าเสื่อม ๔. ผู้ป่วยต้องมีพยาธิสภาพข้อเข่าเสื่อมระยะปานกลาง ๕. ผู้ป่วยต้องผ่านการรักษาอย่างอนุรักษ์นิยมอย่างเต็มที่ตามแนวเวชปฏิบัติของราชวิทยาลัยออร์โธปิดิกส์ ๖. สั่งได้ครั้งละไม่เกิน๖สัปดาห์ ๑. เฉพาะข้อเข่าเสื่อมจากความชราซึ่งมีอายุตั้งแต่๕๖ ปีขึ้นไป ๒. ไม่สามารถเบิกในระบบเบิกจ่ายตรงได้ผู้ป่วยต้องนำใบเสร็จไปเบิกต้นสังกัดพร้อมหนังสือรับรองการใช้ยา ๓. ผู้สั่ง: แพทย์เฉพาะทางสาขาอายุรแพทย์โรคข้อสาขาเวชศาสตร์ฟื้นฟูหรือสาขาออร์โธปิดิกส์เท่านั้น

  49. อุปกรณ์และอวัยวะเทียมการรักษาตั้งแต่1 ม.ค.57 เป็นต้นไปใช้อัตราตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0422.2/ พิเศษ ว1 ลว. 4ธ.ค. 56 – เบิกจ่ายตรงเท่านั้นทั้งผู้ป่วยใน/นอกยกเว้นค่าทำฟันเทียมให้นำใบเสร็จเบิกสรก. ต้นสังกัด ยกเลิก

  50. ค่าบริการ ค่าตรวจวิเคราะห์โรค • ค่าบริการ ตรวจวิเคราะห์โรค ใบเสร็จ ค่ารักษา พยาบาลจะต้องลง “รหัส”

More Related