1 / 42

บนหนทางการดำเนินงาน ควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน... แล้วไง ?

บนหนทางการดำเนินงาน ควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน... แล้วไง ?. โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 2 สิงหาคม 255 4 ณ โรงแรมเซ็นธารา ดวงตะวัน เชียงใหม่. สถานการณ์โรคขาดสารไอโอดีน ณ ตุลาคม 2553.

gabi
Download Presentation

บนหนทางการดำเนินงาน ควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน... แล้วไง ?

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บนหนทางการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน... แล้วไง ? โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 2 สิงหาคม 2554 ณ โรงแรมเซ็นธารา ดวงตะวัน เชียงใหม่

  2. สถานการณ์โรคขาดสารไอโอดีน ณ ตุลาคม 2553

  3. การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน พ.ศ. 2553 - 2555 การควบคุมป้องกัน ภาวะขาดสารไอโอดีน คุณภาพชีวิต ทุกกลุ่มวัย

  4. นโยบายการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนนโยบายการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน • เกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า (Universal Salt Iodization : USI) • การจ่ายยาเม็ดเสริมไอโอดีนให้หญิงตั้งครรภ์ทุกรายตลอดการตั้งครรภ์ • การเฝ้าระวังโรคขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ และ ทารกแรกเกิด

  5. นโยบายการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน (ต่อ) 4. การสุ่มตรวจคุณภาพเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน - แหล่งผลิต/นำเข้า - ร้านค้า - ร้านอาหาร - ครัวเรือน - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียน 5. การพัฒนาชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน • การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ “เพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว” อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง • พัฒนาศักยภาพชมรมผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีน

  6. กรมอนามัยดำเนินการแก้ไขปัญหา โดยใช้ 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้

  7. ยุทธศาสตร์ที่ 1การผลิต และกระจายเกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ โดยการบริหารจัดการที่ต่อเนื่องและยั่งยืน นโยบายเกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ออกประกาศ กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 4 ฉบับ ดังนี้ 1.1 เรื่องเกลือบริโภค กำหนดให้เติมไอโอดีน ระหว่าง 20 - 40 มิลลิกรัมต่อเกลือ 1 กิโลกรัม 1.2 เรื่องน้ำปลา (ฉบับที่ 2) 1.3 เรื่องน้ำเกลือปรุงอาหาร 1.4 เรื่องผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อยโปรตีน ของถั่วเหลือง กำหนดให้ใช้เกลือบริโภค หรือให้เติมไอโอดีน ไม่น้อยกว่า 2 และไม่เกิน 3 มิลลิกรัมต่อลิตร

  8. ยุทธศาสตร์ที่ 2การจัดทำระบบการเฝ้าระวังติดตามและประเมินผลโครงการ ระบบเฝ้าระวังภาวะการขาดสารไอโอดีนในประชาชนไทย การเฝ้าระวังในคน การเฝ้าระวังในเกลือ

  9. การเฝ้าระวังในเกลือ การควบคุมคุณภาพภายใน (โดยผู้ผลิต) จุดผลิตเกลือเสริมไอโอดีน การควบคุมคุณภาพ โดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน ควบคุมโดย เจ้าหน้าที่ของรัฐ ร้านค้า ควบคุมโดยเจ้าหน้าที่รัฐ,ผู้บริโภค, อสม., อย.น้อย ครัวเรือน

  10. กระจาย ซื้อขาย โรงงานเกลือ ร้านค้าเกลือ เกลือใน ครัวเรือน ระบบเฝ้าระวังคุณภาพเกลือ Urine Iodine ระบบเฝ้าระวังสถานการณ์ไอโอดีนในกลุ่มประชากรกลุ่มต่างๆ Urine Iodine TSH ผู้สูงอายุ 60 ปี หญิงตั้งครรภ์ ทารกแรกเกิด เด็ก 3-6 ปี

  11. การเก็บข้อมูลในแต่ละจังหวัดการเก็บข้อมูลในแต่ละจังหวัด คุณภาพเกลือไอโอดีน ประชากรกลุ่มเสี่ยง พฤติกรรมผู้บริโภค

  12. 1.1 ความครอบคลุมการใช้เกลือบริโภคเสริมไอโอดีนคุณภาพ ของครัวเรือน ( สำนักโภชนาการ กรมอนามัย) ข้อมูล : รณรงค์วันไอโอดีนแห่งชาติ สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

  13. 1.2 ค่ามัธยฐานระดับไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ. 2543 - 2553 ไมโครกรัม / ลิตร พ.ศ. ค่าปกติ 2543 - 2549 = 100 ไมโครกรัม/ลิตร 2550 – 2553 = 150 ไมโครกรัม/ลิตร ข้อมูลจากสำนักโภชนาการ กรมอนามัย

  14. 1.3 ร้อยละระดับไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์น้อยกว่า 150 µg/l ปี 2543-2553 ( สำนักโภชนาการ กรมอนามัย) หมายเหตุ องค์การอนามัยโลกกำหนด ก่อนพ.ศ. 2550 พื้นที่ที่มีสัดส่วนของหญิงตั้งครรภ์ที่มีค่าไอโอดีนในปัสสาวะน้อยกว่า 100 µg/l เกินกว่าร้อยละ 50 เป็นพื้นที่ขาดสารไอโอดีน ตั้งแต่ พ.ศ. 2550 พื้นที่ที่มีสัดส่วนของหญิงตั้งครรภ์ที่มีค่าไอโอดีนในปัสสาวะน้อยกว่า 150 µg/l เกินกว่าร้อยละ 50 เป็นพื้นที่ขาดสารไอโอดีน

  15. แผนที่แสดงค่ามัธยฐานไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ 75 จังหวัด ปี 2553

  16. มาตรการแก้ไขปัญหาพื้นที่ขาดสารไอโอดีนมาตรการแก้ไขปัญหาพื้นที่ขาดสารไอโอดีน • ประเมินผลการดำเนินงานการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน ค้นหาสาเหตุ และกำหนดแนวทางการแก้ไข • ดูแลกำกับการให้ยาเม็ดเสริมสารอาหารสำคัญที่มีไอโอดีน แก่หญิงตั้งครรภ์ทุกราย • จัดทำระบบเฝ้าระวัง ติดตามประเมินผล อย่างเคร่งครัด • รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และสนับสนุน การบริโภคเกลือเสริมไอโอดีน และผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีนในพื้นที่

  17. ยุทธศาสตร์ที่ 3การสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พันธมิตร และภาคีเครือข่ายเพื่อการมีส่วนร่วม • การดำเนินงานภาคีเครือข่าย • พัฒนาชมรมผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีน • ขับเคลื่อนให้เกิดชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน • ประชุมภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือในการเสริมไอโอดีน ในผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ดังนี้ • - บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป • - น้ำปลา • - ใส่เกลือเสริมไอโอดีนในขนมขบเคี้ยว จำนวน 37 รายการ • - สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทยใช้ไอโอดีนเติมลงในอาหารไก่ เพื่อให้ได้ไข่ที่มีไอโอดีน 50 ไมโครกรัม/ฟอง • ทดลองทำปลาร้าเสริมไอโอดีน

  18. เป้าหมาย ปี 53 - 55ทุกชุมชน/หมู่บ้าน ในทุกจังหวัด(ประมาณ 76,000 แห่ง)พัฒนาสู่“ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” การขับเคลื่อนชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน

  19. ประเมินรับรอง “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” • ประเมินตนเอง : ภาคีเครือข่ายระดับพื้นที่ • ประเมินภายนอก : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด • และศูนย์อนามัยที่ 1 – 12 • ใช้เกณฑ์การประเมินรับรอง • ของกรมอนามัย(ศึกษารายละเอียดได้จากคู่มือการประเมินฯ)

  20. ผลการประเมินรับรองชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีนผลการประเมินรับรองชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน ณ 15 มิถุนายน 2554 • จำนวนหมู่บ้านที่เข้าร่วมกระบวนการพัฒนาสู่ • “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” รวมทั้งสิ้น 56,584 แห่ง • จำนวนหมู่บ้านที่ผ่านเกณฑ์การประเมินรับรอง • “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” รวมทั้งสิ้น 21,871 แห่ง • (49 จังหวัด) คิดเป็นร้อยละ 38.70 ของหมู่บ้าน • ที่เข้าร่วมกระบวนการ

  21. ผลการประเมินรับรองชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีนผลการประเมินรับรองชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน ศูนย์อนามัยที่ 1 - 12

  22. ตัวอย่าง นวัตกรรมชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน ในจังหวัดที่ได้รับถ้วยรางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2554

  23. นวัตกรรม “ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน” จ.นครราชสีมา • นวัตกรรม : • แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน • - ศูนย์การเรียนรู้ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน • หมอลำไอโอดีน • เซียมซีไอโอดีน • ปัจจัยความสำเร็จ : ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญ ชุมชนร่วมใจ • ประชาชนร่วมมือ มีทูตไอโอดีน ใช้ SLM ขับเคลื่อน

  24. นวัตกรรม “ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน” จ.มหาสารคาม • นวัตกรรม : • แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน • - ศูนย์การเรียนรู้ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน • กลอนรำไอโอดีน ฮูลาฮูปไอโอดีน ไม้พลองผู้สูงอายุ • ปัจจัยความสำเร็จ : ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญ ชุมชนร่วมมือ • ประสานใจบูรณาการทุกภาคส่วนโดยใช้ SLM

  25. นวัตกรรม “ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน” จ.นครพนม • นวัตกรรม : แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สูตรอาหารท้องถิ่น เสริมไอโอดีน หมอลำไอโอดีน • มาตรการทางสังคม : ร้านค้าจำหน่ายเฉพาะเกลือเสริมไอโอดีน/ • เฝ้าระวังรถเร่ • ปัจจัยความสำเร็จ : ผู้บริหารให้ความสำคัญ ใช้ SLM งบประมาณสนับสนุนเพียงพอ ติดตามผลโดย ผวจ.ทุกเดือน การสื่อสารหลายช่องทาง การประสานงานดี ทำงานเป็นทีม

  26. ยุทธศาสตร์ที่ 4การประชาสัมพันธ์ รณรงค์ และการตลาดเชิงสังคม เพื่อการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีนอย่างต่อเนื่อง • จัดงานวันไอโอดีนแห่งชาติ 25 มิถุนายนทุกปี ทั้งส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค • ประชาสัมพันธ์การส่งเสริมการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีน ผ่านสื่อโทรทัศน์ วิทยุ • จัดมหกรรมรวมพลังประเทศไทย“เพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว” • จัดพิมพ์สื่อเผยแพร่

  27. ผลงาน: • ผลิตสื่อ สิ่งพิมพ์ 7 รายการ • สื่อสารสาธารณะ 43 ครั้ง • จัดงานมหกรรมเพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว ในส่วนกลาง และทุกจังหวัด • จัดงานรณรงค์วันไอโอดีนแห่งชาติ 1 ครั้ง • มีผู้รับสารประมาณ 12,000,000 คน

  28. ตัวอย่างผลงาน : 2.1 ผลิตสื่อ สิ่งพิมพ์ 7 รายการ 1. คู่มือการดำเนินงานชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน จำนวน 1,500 เล่ม 2. คู่มือการดำเนินงาน ควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน สำหรับ จนท.สธ. จำนวน 7,000 เล่ม 3. การ์ตูน Mr.ไอโอดีนผจญภัย ในเมืองเอ๋อ จำนวน 3,500 เล่ม 4. บทความวิทยุ เรื่องเด็กไทยจะฉลาดเพราะไม่ขาดไอโอดีน จำนวน 3,500 เล่ม

  29. ตัวอย่างผลงาน : 2.1 ผลิตสื่อ สิ่งพิมพ์ 7 รายการ (ต่อ) 5. แผ่นพับ 6 ตอน 2 หน้า รณรงค์ควบคุมป้องกันโรค ขาดสารไอโอดีน จำนวน 100,000 ฉบับ 6. แฟ้มไอโอดีน สำหรับ การประชุมผู้บริหาร/คณะกรรมการไอโอดีนแห่งชาติ จำนวน 3,500 เล่ม 7. คู่มือทูตไอโอดีน จำนวน 15,000 ชุด (อยู่ระหว่างดำเนินการ)

  30. ตัวอย่างผลงาน : 2.3 การสื่อสารในระดับ Air campaign 1) ถ่ายทอดสด “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” ผ่าน MCOT 1 เวลา 14.00 – 16.00 น. ครั้งๆละ 2 ชั่วโมง รวม 2 ครั้ง 19 พ.ค.54 อ.บัวใหญ่ จ.นครราชสีมา 25 พ.ค.54 อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี 24 มิ.ย.54 วันไอโอดีนแห่งชาติ ณ หัวลำโพง

  31. 2) ประชาสัมพันธ์ผ่านรายการ บ่ายนี้มีคำตอบ เวลา 15.00 – 16.00 น. ช่อง 9 อสมท. จำนวน 3 ครั้ง 9 มี.ค. 54: นโยบายการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน 19 เม.ย. 54: การขับเคลื่อนชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน จ.อุดรธานี 31 พ.ค. 54: ความสำเร็จในการควบคุมป้องกัน โรคขาดสารไอโอดีน จ.น่าน วันที่ 21 มิ.ย. 54: รณรงค์ “วันไอโอดีนแห่งชาติ”

  32. 3) Press Tour พื้นที่ที่มีผลงานเด่นจำนวน 2 ครั้ง 19 พ.ค.54 อ.บัวใหญ่ จ.นครราชสีมา 25 พ.ค.54 อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี 4) สปอตโทรทัศน์ ความยาว 1 นาที จำนวน 36 ครั้ง ผ่านช่อง 9 อสมท.

  33. การรณรงค์ สร้างกระแส “เพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว” สร้างแรงจูงใจในระดับพื้นที่ โดยจัดประกวดจังหวัดที่มีผลงานเด่น ใน 3 ประเด็น ดังนี้ • จังหวัดที่มีร้อยละของชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีนมากที่สุด • จังหวัดที่มีร้อยละของครัวเรือนใช้เกลือเสริมไอโอดีนคุณภาพ มากที่สุด • จังหวัดที่มีรูปแบบการสื่อสารเรื่องไอโอดีนอย่างสร้างสรรค์ และต่อเนื่อง(มีนวัตกรรมการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน / บทบาท อสม.ในฐานะทูตไอโอดีนที่เป็นรูปธรรม / เกิดกระบวนการ ทำงานอย่างเป็นระบบในภาพรวมของจังหวัด)

  34. ผลการประกวดมหกรรมเพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว • ประเภทที่ 1 : จังหวัดที่มีผลงานเด่นด้านการขับเคลื่อน • “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” • รางวัลที่ 1 : จังหวัดนครราชสีมา • รางวัลที่ 2 : จังหวัดมหาสารคาม • รางวัลที่ 3 : จังหวัดนครพนม

  35. ผลการประกวดมหกรรมเพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว (ต่อ) • ประเภทที่ 2 : จังหวัดที่มีผลงานเด่นด้านความครอบคลุมคุณภาพ • เกลือบริโภคเสริมไอโอดีนในครัวเรือน • รางวัลที่ 1 : จังหวัดพังงา • รางวัลที่ 2 : จังหวัดนครราชสีมา • รางวัลที่ 3 : จังหวัดพัทลุง

  36. ผลการประกวดมหกรรมเพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว (ต่อ) • ประเภทที่ 3 : จังหวัดที่มีผลงานเด่นด้านการสื่อสารสาธารณะ • อย่างต่อเนื่องและสร้างสรรค์ • รางวัลที่ 1 : จังหวัดเพชรบุรี • รางวัลที่ 2 : จังหวัดอุดรธานี • รางวัลที่ 3 : จังหวัดอุบลราชธานี

  37. มอบโล่ให้กับผู้สนับสนุนการดำเนินงานมอบโล่ให้กับผู้สนับสนุนการดำเนินงาน บริษัทกรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรมการเกษตรจำกัด บริษัทสาครวัฒนา (ทั่งจือฮะ) จำกัด สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าฯ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ชมรมผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีน ภาคเหนือ ชมรมผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีน ภาคกลาง ชมรมผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีน ภาคอีสาน

  38. ยุทธศาสตร์ที่ 5 การศึกษาวิจัย การศึกษาวิจัยสำรวจการบริโภคปริมาณโซเดียมคลอไรด์ของประชากรไทย ปริมาณการบริโภคโซเดียมคลอไรด์เฉลี่ยของประชากรไทย พ.ศ. 2551

  39. ยุทธศาสตร์ที่ 6การใช้มาตรการเสริมในระยะ เฉพาะหน้าและมาตรการเสริมอื่นๆ การเสริมไอโอดีนในน้ำดื่ม • ดำเนินการในโรงเรียน และหมู่บ้านที่ห่างไกล

  40. ยุทธศาสตร์ที่ 6 (ต่อ)การใช้มาตรการเสริมในระยะ เฉพาะหน้าและมาตรการเสริมอื่นๆ • การจ่ายยาเม็ดเสริมไอโอดีนให้หญิงตั้งครรภ์ทุกรายตลอดการตั้งครรภ์และให้นมลูก 6 เดือน • การใช้น้ำปลา ซอส ซีอิ้ว เสริมไอโอดีน • การบริโภคไข่ที่มีไอโอดีน ฯลฯ

  41. สวัสดี

More Related