1 / 34

การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการบริหารราชการ

การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการบริหารราชการ. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.). การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม. คือ การบริหารราชการที่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงาน ของรัฐ ได้เปิดโอกาสให้ประชาชนหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจทางการบริหารและดำเนินงานของรัฐ

Download Presentation

การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการบริหารราชการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารราชการ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)

  2. การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม • คือ การบริหารราชการที่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงาน ของรัฐ ได้เปิดโอกาสให้ประชาชนหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจทางการบริหารและดำเนินงานของรัฐ ทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อที่ จะตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน

  3. การบริหาราชการแบบมีส่วนร่วม(การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม)การบริหาราชการแบบมีส่วนร่วม(การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม) ฐานที่มาของความคิดตามกรอบกฎหมาย -รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550มาตรา 56, 57,58, 59, 60, 62, 66,67, 74, และ 78 เป็นต้น - พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545มาตรา 3/1 (การมีส่วนร่วม และโปร่งใส) - พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 มาตรา 8 (3)(4) (5) มาตรา 39, 43, และ 44 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546-พ.ศ. 2550) ยุทธศาสตร์ที่ 7

  4. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย มาตรา 56 สิทธิได้รับทราบข้อมูลข่าวสารสาธารณะ มาตรา 57 สิทธิรับทราบข้อมูลและแสดงความคิดเห็นก่อนการดำเนิน โครงการ ที่กระทบสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิต มาตรา 66 สิทธิชุมชนในการอนุรักษ์หรือฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นและของชาติ มาตรา 67 สิทธิที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชนในการอนุรักษ์ บำรุงรักษา และการได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติฯ และในการคุ้มครอง ส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ดำรงชีพอยู่ได้อย่างปกติและต่อเนื่องในสิ่งแวดล้อมที่จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน

  5. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มาตรา 78 รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ดังต่อไปนี้ (๑) บริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และความมั่นคงของประเทศอย่างยั่งยืน โดยต้องส่งเสริมการดำเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคำนึงถึงผลประโยชน์ของประเทศชาติในภาพรวมเป็นสำคัญ ฯ ล ฯ

  6. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ ต้องคำนึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง

  7. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 (ต่อ) ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตรา พระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติก็ได้

  8. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ 7. ประเมินผลการปฏิบัติราชการ 3. มีประสิทธิภาพ/คุ้มค่า 1. เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน 6. อำนวยความสะดวกตอบสนองความต้องการของประชาชน 4. ลดขั้นตอนที่ไม่จำเป็น 5. ปรับปรุงภารกิจ/โครงสร้างให้เหมาะสม หมวด 1 มาตรา 6

  9. เป็นผู้ได้รับประโยชน์ (มาตรา 7,8) - เพื่อประโยชน์สุข - เป็นศูนย์กลาง • ก่อนดำเนินการ วิเคราะห์/ ชี้แจง/ ทำความเข้าใจ/ ถามความเห็น รับฟังความเห็น/เกี่ยวข้อง - สำรวจความพึงพอใจ - สอบถามเรื่องงาน ตอบภายใน 15 วัน (มาตรา 38) รับทราบข้อมูล ข่าวสารสาธารณะ - ขอข้อมูล/เสนอแนะทาง ICT (มาตรา 39,40) การมีส่วนร่วมของประชาชน - แผน/โครงการ(มาตรา 20) - ร้องเรียน/เสนอแนะ ต้องดำเนินการและแจ้งทราบ (มาตรา 41) • แผนภูมิงานบริการ/ขั้นตอน/ • เวลาแล้วเสร็จ (มาตรา 29) - เปิดเผยข้อมูลงบประมาณ ซื้อ/จ้าง (มาตรา 43,44) พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546

  10. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย [พ.ศ. 2546 - พ.ศ. 2550] วิสัยทัศน์ “ พัฒนาระบบราชการไทยให้มีความเป็นเลิศ สามารถรองรับกับการพัฒนาประเทศในยุคโลกาภิวัตน์ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล และประโยชน์สุขของประชาชน”

  11. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย [พ.ศ. 2546 - พ.ศ. 2550] เป้าประสงค์หลัก พัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนที่ดีขึ้น [ Better Service Quality ] ปรับบทบาท ภารกิจ และขนาดให้มีความเหมาะสม [ Rightsizing ] ยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทำงานให้อยู่ในระดับสูง และเทียบเท่าเกณฑ์สากล [ High Performance ] ตอบสนองต่อการบริหารปกครองในระบอบประชาธิปไตย [ Democratic Governance ]

  12. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย [พ.ศ.2546 - 2550] ยุทธศาสตร์ 1 : การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน ยุทธศาสตร์ 2: การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์ 3: การรื้อปรับระบบการเงินและการงบประมาณ ยุทธศาสตร์ 4: การสร้างระบบบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่ ยุทธศาสตร์ 5: การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม ยุทธศาสตร์ 6: การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัย ยุทธศาสตร์ 7: การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม

  13. G3 ยกระดับขีด ความสามารถและ มาตรฐานการทำงานให้เทียบเท่าสากล G1 พัฒนาคุณภาพ การให้บริการประชาชนดีขึ้น G2 ปรับบทบาท ภารกิจและขนาดให้เหมาะสม G4 ตอบสนองต่อ การบริหาร การปกครองในระบอบประชาธิปไตย S3 ปรับระบบการเงินและงบประมาณ S1 S2 S4 S7 ปรับเปลี่ยน กระบวนการ และวิธีการทำงานโดยใช้หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ปรับระบบการบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่ ปรับปรุง โครงสร้างการบริหารราชการ แผ่นดิน เปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม S5 ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรมและค่านิยม S6 เสริมสร้างระบบราชการ ให้ทันสมัย ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2546-2550)

  14. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ (พ.ศ. 2546- พ.ศ. 2550) การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครอง และเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540มุ่งเน้นให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารกิจการบ้านเมืองโดยตรงมากขึ้น แต่ระบบราชการไทยยังไม่ได้มีการปรับตัวอย่างจริงจัง และยังติดยึดกับลักษณะความเป็นเจ้าขุนมูลนาย และการทำงานแบบดั้งเดิม ทำให้มีความจำเป็นที่จะต้องเปิดระบบราชการเข้าสู่กระบวนการความประชาธิปไตย (democratization) มากขึ้น โดยการยอมรับ และให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการเสนอแนะความคิดเห็น ร่วมปฏิบัติงาน และการตรวจสอบผลการดำเนินงาน • ยุทธศาสตร์ 7 : การเปิดระบบราชการ ให้ประชาชนเข้ามา มีส่วนร่วม

  15. มาตรการ : 1. กำหนดเงื่อนไขและแนวทางเพื่อส่งเสริมให้ส่วนราชการให้ข้อมูลความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติราชการ แนวทางดำเนินงาน และการราย งานผลการปฏิบัติงานแก่ผู้เกี่ยวข้องโดยตรงและประชาชน 2. วางหลักเกณฑ์ให้ส่วนราชการจัดให้มีระบบการปรึกษาหารือกับประชาชน การสำรวจความต้องการของประชาชน จัดการประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างสม่ำเสมอ 3. ให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาภาคประชาชน (Citizen Advisory Board)โดยเฉพาะในระดับปฏิบัติการ (กรม/จังหวัด/อำเภอ) ยุทธศาสตร์ 7 : การเปิดระบบราชการ ให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วม

  16. มาตรการ : 4. ให้ส่วนราชการจัดให้มีอาสาสมัครภาคประชาชนเข้ามาร่วมทำงานกับข้าราชการ 5. ให้ส่วนราชการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศที่มีความจำเป็น ต่อการแสดงภาระรับผิดชอบ ความโปร่งใส และเปิดเผยเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน ลงในเว็บไซด์ 6. กำหนดให้ความสำเร็จในการดำเนินกิจกรรมในการเปิดโอกาสให้ประชาชนมี ส่วนร่วมในระบบราชการ เป็นตัวชี้วัดหนึ่งในการบริหารที่ดีของส่วนราชการ ยุทธศาสตร์ 7 : การเปิดระบบราชการ ให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วม (ต่อ)

  17. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารจัดการระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารจัดการ บ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542 หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส GOOD GOVERNANCE หลักความคุ้มค่า หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ

  18. องค์ประกอบหลักของระบบราชการแบบมีส่วนร่วมองค์ประกอบหลักของระบบราชการแบบมีส่วนร่วม เปิดเผย ข้อมูลข่าวสาร ระบบราชการ แบบมีส่วนร่วม มีส่วนร่วม โปร่งใส • ขั้นตอน/กระบวนการทำงาน เหตุผลการตัดสินใจ • ให้ข้อมูลข่าวสาร • หารือ • เข้ามามีบทบาท • สร้างความร่วมมือ • เสริมอำนาจ รับฟัง ความคิดเห็นข้อเสนอแนะจากประชาชน

  19. ทำไมต้องบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมทำไมต้องบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม • ภาคสังคมและประชาชนมีการพัฒนาและเรียกร้องสิทธิ ในการรับรู้ ตัดสินใจ และมีส่วนร่วม • หลักการบริหารราชการแนวใหม่ที่ระบบราชการทั่วโลกตระหนักถึงความสำคัญ • เริ่มได้บทเรียนและเรียนรู้จากการสูญเสีย • แสวงหารูปแบบและนำไปประยุกต์ใช้ • สังคมไทยและคนไทยพัฒนาสู่สังคมประชาธิปไตยยุคใหม่

  20. ยุทธศาสตร์การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม(การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม) (ต่อ) มาตรการการเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม - สร้างความรู้และความเข้าใจการทำงานแบบใหม่แก่เจ้าหน้าที่และประชาชน • วางหลักเกณฑ์ให้หน่วยงานมีระบบปรึกษาหารือกับประชาชน/สำรวจความต้องการของประชาชน ในโครงการที่อาจกระทบประชาชน • ตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาภาคประชาชน • สร้างอาสาสมัครภาคประชาชน • สร้างระบบการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ • กำหนดตัวชี้วัดสำหรับการจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วม

  21. ยุทธศาสตร์การสร้างการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมยุทธศาสตร์การสร้างการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม การบริหารราชการ เพื่อสังคมประชาธิปไตย การบริหารราชการ ที่โปร่งใส การบริหารราชการ เพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน การบริหารราชการ ที่ประชาชนเป็นหุ้นส่วน การพัฒนาจากภายนอกระบบราชการ(Outside-in Approach) การพัฒนาจากภายในภาคราชการ(Inside-out Approach) การบริหารราชการ ที่มีประสิทธิภาพ ราชการที่ตอบสนองความต้องการ ของประชาชน การบริหารราชการที่ทรงพลัง โครงการพัฒนาศักยภาพฯ

  22. แนวทางการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมในระดับจังหวัดแนวทางการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมในระดับจังหวัด ค.ร.ม. นโยบายระดับชาติราชการส่วนกลาง ผู้แทนส่วนราชการต่างๆ ภาคธุรกิจเอกชน ยุทธศาสตร์/เป้าหมายการพัฒนาจังหวัด เวทีเครือข่ายที่ปรึกษาเพื่อร่วมพัฒนาราชการในระดับจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด นักวิชาการ การบริหารจังหวัดบูรณาการแบบมีส่วนร่วม สื่อมวลชน แผนงานของท้องถิ่นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนภาคประชาสังคม ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ ติดตามผล

  23. กระบวนการสร้างศักยภาพการมีส่วนร่วมของส่วนราชการออกไปสู่ประชาชนกระบวนการสร้างศักยภาพการมีส่วนร่วมของส่วนราชการออกไปสู่ประชาชน • กำหนดเป็นนโยบายสำคัญของหน่วยงานที่เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างชัดเจน ตามกรอบกฎหมาย • ปรับระบบบริหารที่เอื้อต่อการสร้างการมีส่วนร่วม ให้เป็นส่วนหนึ่งของการทำข้อตกลงการปฏิบัติราชการ และเป็นตัวชี้วัดผลการทำงาน • พัฒนาและสร้างความรู้ ความเข้าใจตลอดจนทักษะในการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมให้ข้าราชการระดับต่างๆ • พัฒนานวัตกรรมการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม • พัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถของส่วนราชการเพื่อรองรับการมีส่วนร่วม

  24. ลักษณะของระบบราชการแบบมีส่วนร่วมลักษณะของระบบราชการแบบมีส่วนร่วม • เป็นองค์การที่เปิดให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ (Accessibility) • เป็นองค์กรที่มีการติดต่อสื่อสารสองทางกับประชาชน (Dialogue) • เป็นองค์กรที่มีการติดต่อสื่อสารทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ • นำข้อคิดเห็นของประชาชนมาประกอบการตัดสินใจขององค์กรพร้อมทั้งอธิบายเหตุผล • มีการจัดกระบวนการการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างทันท่วงที ถูกต้อง โปร่งใสและจริงใจ

  25. การปรับเปลี่ยนบทบาทใหม่ของรัฐการปรับเปลี่ยนบทบาทใหม่ของรัฐ เสริมสร้างพลัง สนับสนุน หยิบยื่น ประชาชน ร่วมตัดสินใจ ประชาชน เกี่ยวข้องตามที่ ได้รับอนุญาต ประชาชน ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง บทบาทของประชาชน

  26. การปรับเปลี่ยนบทบาทใหม่ของรัฐการปรับเปลี่ยนบทบาทใหม่ของรัฐ เสริมสร้างพลัง สนับสนุน หยิบยื่น • กระจายอำนาจ • รวมประชาชนเข้าไว้ในกลุ่ม ผู้ตัดสินใจ • มีทางเลือกที่เปิดกว้างไม่มี การจำกัด • ประชาชนเป็นผู้นำ • ประชาชนมีส่วนร่วมอย่าง จริงจัง • รัฐมีพันธะความรับผิดชอบ ต่อสังคม • โปร่งใส/เปิดกว้าง • ประชาชนมีความเป็นพลเมือง • ผู้ตัดสินใจคือกลุ่มที่ได้รับ การคัดเลือก • ประชาชนมีส่วนร่วมได้ เฉพาะเรื่อง • ประชาชนมีทางเลือกแต่ จำกัด • ประชาชนร่วมตัดสินใจ • ประชาชนมีส่วนร่วม • รวมศูนย์อำนาจ • รัฐทำหน้าที่ตัดสินใจ • ประชาชนไม่มี ทางเลือก • ความสัมพันธ์แนวดิ่ง จากบนลงล่าง • ปิดกั้นการมีส่วนร่วม ของประชาชน บทบาทภาครัฐ

  27. Inform Consult Involve รัฐธรรมนูญ Collaborate กลไกของรัฐ Empower Public Participation Spectrum

  28. การมีส่วนร่วมของประชาชนการมีส่วนร่วมของประชาชน สามารถแบ่งได้เป็น 5 ระดับ ดังนี้ - ระดับการให้ข้อมูลข่าวสาร (to inform) - ระดับการให้คำปรึกษาหารือ (to consult) - ระดับการเข้าไปเกี่ยวข้อง (to involve) - ระดับการร่วมมือ (to collaborate) - ระดับการมอบอำนาจการตัดสินใจ (to empower)

  29. Public Participation Spectrum เสริมอำนาจประชาชน Empower ร่วมมือ Collaboration เกี่ยวข้อง Involve ให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน Inform รับฟังความคิดเห็นของประชาชน Consult

  30. รัฐเปิดให้การมีส่วนร่วมสูงขึ้นรัฐเปิดให้การมีส่วนร่วมสูงขึ้น เสริมอำนาจประชาชน Empower ร่วมมือ Collaboration เกี่ยวข้อง Involve รับฟังความคิดเห็น Consult ให้ข้อมูลข่าวสาร Inform

  31. ตัด สิน ใจ เอง ระดับการมีส่วนร่วมสูงขึ้น เข้าร่วมทำงานด้วย สมัครใจเข้าร่วม ให้ความเห็น รับฟัง การมีส่วนร่วมของประชาชน

  32. ตัด สิน ใจ เอง เข้าร่วมทำงานด้วย สมัครใจเข้าร่วม ให้ความเห็น รับฟัง เสริมอำนาจประชาชน Empower ร่วมมือ Collaboration เกี่ยวข้อง Involve ให้ข้อมูลข่าวสาร Inform รับฟังความคิดเห็น Consult การมีส่วนร่วมของประชาชน

  33. ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน(Public Participation Spectrum) • เทคนิคการมีส่วนร่วม: • การลงประชามติ เสริมอำนาจประชาชน Empower • เทคนิคการมีส่วนร่วม: • - คณะที่ปรึกษาภาคประชาชน • คณะกรรมการ • การตัดสินใจแบบมีส่วนร่วม ร่วมมือ Collaboration เกี่ยวข้อง Involve เทคนิคการมีส่วนร่วม: - สัมมนาเชิงปฏิบัติการ • เทคนิคการมีส่วนร่วม: • - การสำรวจความคิดเห็น • การประชุม/เวทีสาธารณะ • ประชุมกลุ่มย่อย รับฟังความคิดเห็น Consult • เทคนิคการมีส่วนร่วม: Fact Sheet • Websites • Open House ให้ข้อมูลข่าวสาร Inform

  34. คุณลักษณะของข้าราชการในระบบราชการแบบมีส่วนร่วมคุณลักษณะของข้าราชการในระบบราชการแบบมีส่วนร่วม เปิดให้เข้าถึง พัฒนาทักษะด้าน ความสัมพันธ์กับผู้อื่น ตอบสนอง รับฟัง ให้การศึกษาแก่ประชาชน แสดงความห่วงใย และเห็นใจ กระจาย ข้อมูลข่าวสาร

More Related