1 / 87

Chapter 1 : Introduction to Database System

Chapter 1 : Introduction to Database System. 3204-2005 ระบบฐานข้อมูล. By Juthawut Chantharamalee. By Juthawut Chantharamalee. วัตถุประสงค์. ทราบถึงวิวัฒนาการในการจัดการข้อมูล สามารถบอกโครงสร้างแฟ้มข้อมูล ชนิดของข้อมูลประเภทต่าง ๆได้

Download Presentation

Chapter 1 : Introduction to Database System

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Chapter 1 : Introduction to Database System 3204-2005 ระบบฐานข้อมูล By Juthawut Chantharamalee By Juthawut Chantharamalee

  2. วัตถุประสงค์ • ทราบถึงวิวัฒนาการในการจัดการข้อมูล • สามารถบอกโครงสร้างแฟ้มข้อมูล ชนิดของข้อมูลประเภทต่าง ๆได้ • สามารถบอกประเภทของแฟ้มข้อมูล และวิธีการจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูลได้ • เข้าใจหลักการทำงานของระบบแฟ้มข้อมูล และบอกข้อดี/ข้อเสียได้ • เข้าใจหลักการทำงานของระบบฐานข้อมูล และบอกข้อดี/ข้อเสียได้ • ทราบถึงความสำคัญและหน้าที่การทำงานของ DBMS • บอกส่วนประกอบของสภาพแวดล้อมของ DBMS ได้

  3. บทบาทฐานข้อมูล • การใช้ชีวิตประจำวัน • เราสัมพันธ์กับ Database อะไรบ้าง?

  4. บทบาทฐานข้อมูล ฐานข้อมูล (Database)มีบทบาทสำคัญมากต่องานด้านต่างๆ โดยเฉพาะงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ เช่น - งานด้านธุรกิจ - งานด้านวิศวกรรม - ด้านการแพทย์ - การศึกษา - วิทยาศาสตร์ ฯลฯ เพื่อทำการจัดการข้อมูลอย่างมีระบบ

  5. บทบาทฐานข้อมูล หากหน่วยงานใดได้มีการนำเทคโนโลยีฐานข้อมูลมาใช้งาน ภายในองค์กร ย่อมได้เปรียบในเชิงแข่งขันด้านการค้า หมายถึง พัฒนาฐานข้อมูลเพื่อใช้ในองค์กรด้วยการนำข้อมูลมารวบรวมไว้อย่างเป็นระบบและจัดเก็บลงในฐานข้อมูล สามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ประโยชน์ การเข้าถึงฐานข้อมูลเพื่อเรียกดูข้อมูล การนำเสนอรายงานได้ทันท่วงที การจัดการกับระบบความปลอดภัยในฐานข้อมูล การนำข้อมูลมาวิเคราะห์

  6. ข้อมูลและสารสนเทศ (Data Versus Information) • ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริง วัตถุ หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น กล่าวคือ เป็นข้อมูลดิบ (Row Data) ที่ยังไม่ได้ผ่านการประมวลผล • สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว และสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์

  7. ข้อมูล (Data)

  8. สารสนเทศ (Information)

  9. สารสนเทศ (Information)

  10. ฐานข้อมูลกับการดำเนินชีวิตประจำวัน (Database and Day-to-Day Life) • การซื้อสินค้าในซูเปอร์มาร์เก็ต เหลือ เดิม 8 7 7 6

  11. การจัดการข้อมูล (Data Management)

  12. โครงสร้างแฟ้มข้อมูล (File Structure) File Record Record Record Field Field Field Byte Byte Bit Bit

  13. โครงสร้างแฟ้มข้อมูล • บิต(bit): ประกอบไปด้วยเลขฐานสอง ใช้แทนค่าหน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูลคอมพิวเตอร์ โดยหน่วยที่ใช้จะมีค่า 0 และ 1 เท่านั้น • ไบต์(byte) :คือการนำเอาบิตหลาย ๆ บิตมาเรียงต่อกัน ตัวอย่างเช่น 1 ไบต์มี 8 บิต ก็คือการนำเอาเลข 0 กับ 1 มาเรียงต่อกัน 8 ตัวจนครบ 1 ไบต์ เพื่อให้ได้อักขระหนึ่งตัว เช่น 01000001 คือ เลขฐานสองที่มี 8บิตเป็นรหัสแทนตัว A ดังนั้น 1 ไบต์ แทนข้อมูลได้ 28หรือ 256 อักขระ

  14. โครงสร้างแฟ้มข้อมูล • ฟิลด์(field) : คือการนำเอาอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปมารวมกันเพื่อให้เกิดความหมาย เช่น ฟิลด์ std_name ใช้เก็บข้อมูลนักศึกษา ฟิลด์ salary ใช้เก็บข้อมูลเงินเดือน เป็นต้น • เรคอร์ด(record) : คือกลุ่มของฟิลด์ที่สัมพันธ์กัน เช่น ในหนึ่งเรคคอร์ดประกอบด้วยฟิลด์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นชุด เช่น เรคคอร์ดประวัตินักศึกษา ประกอบด้วย - ฟิลด์ - รหัสนักศึกษา - ชื่อ-สกุล - ที่อยู่ , จังหวัด ,เบอร์โทรศัพท์

  15. โครงสร้างแฟ้มข้อมูล • ไฟล์(file) : คือกลุ่มของเรคคอร์ดที่สัมพันธ์กันเช่น แฟ้มประวัตินักศึกษา จะประกอบด้วยเรคคอร์ดของนักศึกษาทั้งหมดในมหาวิทยาลัย ดังนั้นหนึ่งไฟล์จะต้องมีอย่างน้อยหนึ่งเรคคอร์ด เพื่อใช้การใช้งานข้อมูล เป็นต้น

  16. bit หน่วยที่เล็กที่สุดในการเก็บข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ byte กลุ่มของ bit ซึ่ง 8 bits = 1 byte หน่วยเก็บข้อมูลที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เก็บค่าที่ต้องการ field record กลุ่มของ fields ที่เกี่ยวข้องกัน file กลุ่มของ records สรุปโครงสร้างแฟ้มข้อมูล หน่วยในการเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์

  17. record1 record2 record n fields แฟ้มข้อมูล File แฟ้มประวัตินักเรียน ..... ประวัติ น.ร. คนที่ 1 ประวัติ น.ร. คนที่ 2 ประวัติ น.ร. คนที่ n รหัสนักเรียน รหัสนักเรียน รหัสนักเรียน ชื่อ-สกุล ชื่อ-สกุล ชื่อ-สกุล วันเกิด วันเกิด วันเกิด ที่อยู่ ที่อยู่ ที่อยู่

  18. โครงสร้างแฟ้มข้อมูล Filed File Record

  19. โครงสร้างแฟ้มข้อมูล

  20. ชนิดของข้อมูล (Type of Data) • 1. ข้อมูลชนิดข้อความ (Text) เป็นข้อมูลที่ประกอบด้วยสายอักขระต่างๆ ที่นำมารวมกันโดยไม่มีรูปแบบที่ชัดเจนแน่นอน โดยข้อมูลชนิดนี้จะมีความหมายในตัวเอง • 2. ข้อมูลชนิดที่เป็นรูปแบบ (Formatted Data) เป็นข้อมูลที่ประกอบด้วยอักขระต่างๆ ซึ่งมีรูปแบบแน่นอน โดยอาจจัดเก็บอยู่ในรูปแบบของรหัส โดยต้องนำรหัสมาตีความอีกครั้ง เช่น รหัสสาขาวิชา CS คือ โปรแกรมของสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นต้น

  21. ชนิดของข้อมูล (Type of Data) • 3. ข้อมูลชนิดรูปภาพ (Images) นำมาใช้แทนข้อมูลด้วยการนำมาใช้เสนอร่วมกับข้อความ ให้มีความสมบูรณ์ เช่น ข้อมูลประวัติพนักงาน ข้อมูลสินค้า เป็นต้น ฟอร์แมตรูปภาพ BMP, JPG, TIFF, GIF หรือ PNG • 4. ข้อมูลชนิดเสียง (Audio/Sound) เป็นไฟล์ข้อมูลชนิดหนึ่งที่ใช้จัดเก็บเสียงแบบดิจิตอล เช่น การแปลงเสียงพูดของมนุษย์ เสียงดนตรี เป็นแบบแอนะล็อกให้อยู่ในรูปของไฟล์ดิจิตอล เช่น ไฟล์ประเภท MIDI หรือดิจิตอลออดิโอทั่ว ๆ ไป

  22. ชนิดของแฟ้มข้อมูล (Type of Conventional Files) • แฟ้มข้อมูลหลัก (Master File) • แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง (Transaction File) • แฟ้มเอกสาร (Document File) • แฟ้มประวัติ (Archival File) • แฟ้มตารางอ้างอิง (Table Look-up File) • แฟ้มเพื่อการตรวจสอบ (Audit File)

  23. ชนิดของแฟ้มข้อมูล 1. แฟ้มข้อมูลหลัก (Master File) • เป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้สำหรับจัดเก็บข้อมูลที่ค่อนข้างคงที่ • เมื่อบันทึกรายการข้อมูลเพิ่มเข้าไปในแฟ้มข้อมูลหลัก ข้อมูลจะคงอยู่ในระบบตลอดเวลาที่ใช้งาน • เช่น แฟ้มข้อมูลประวัตินักศึกษา แฟ้มข้อมูลผลิตภัณฑ์สินค้า เป็นต้น • สามารถปรับปรุงแก้ไขข้อมูลในแฟ้มข้อมูลหลัก ได้ 3 รูปแบบ • การเพิ่ม (add) • การลบ (Delete) • การแก้ไขปรับปรุง (Modify)

  24. ชนิดของแฟ้มข้อมูล 2. แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง (Transaction File) • ไฟล์ที่ใช้ในการเก็บค่าที่มีการเปลี่ยนแปลงบ่อย ๆ ซึ่งไม่ใช้ผลลัพธ์สุดท้าย • จัดเก็บรายการข้อมูลประจำวันที่มีการเคลื่อนไหวอยู่เสมอ • เช่น แฟ้มข้อมูลการลงทะเบียนของนักศึกษา ที่ต้องมีการลงทะเบียนทุกภาคการศึกษา หรือ แฟ้มข้อมูลรายการถอนเงินในบัญชีของลูกค้า แฟ้มข้อมูลการซื้อขายสินค้าในแต่ละวัน หรือแฟ้มรายการประวันของสมาชิกที่เช่า VCD/DVD เป็นต้น

  25. ชนิดของแฟ้มข้อมูล 3. แฟ้มเอกสาร (Document File) • แฟ้มเอกสารจัดเป็นไฟล์เอกสารหรือไฟล์รายงาน (Report File) ที่เคยผ่านการประมวลผลมาแล้วครั้งหนึ่งด้วยโปรแกรม • เช่น การสั่งประมวลผลโปรแกรม และกำหนดให้พิมพ์รายงานลงไฟล์ เพื่อจัดเก็บลงคอมพิวเตอร์ • เมื่อเรียกใช้งานหรือพิมพ์สามารถทำได้ทันทีโดยไม่ต้องผ่านการประมวลผล

  26. ชนิดของแฟ้มข้อมูล 4. แฟ้มประวัติ (Archival File) • แฟ้มประวัติเป็นแฟ้มข้อมูลที่บรรจุไปด้วยแฟ้มข้อมูลหลักและแฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง • อาจเป็นเรคอร์ดข้อมูลต่าง ๆ ที่ถูกลบ หรือเคลื่อนย้ายจากสื่ออุปกรณ์ออนไลน์ (Online Storage) ไปจัดเก็บไว้ในสื่ออุปกรณ์แบบออฟไลน์ (Offline Storage) • เช่น การเคลื่อนย้ายข้อมูลแฟ้มประวัติลูกค้าเก่าจากฮาร์ดดิสก์ไปบันทึกลงเทป • ข้อมูลที่เคลื่อนย้ายจะไม่ได้มีการนำมาใช้งานธุรกรรมใดๆ ประจำวัน • แฟ้มประวัติอาจเป็นไฟล์ที่แต่ละหน่วยงานจำเป็นต้องเก็บไว้ตามระเบียบและกฎเกณฑ์ของรัฐบาลตามกฎหมายบัญญัติสำหรับตรวจสอบข้อมูล • แฟ้มประวัติอาจเป็นไฟล์ที่สามารถนำมาวิเคราะห์ได้ • Archival File หรือเรียกว่า Historical File

  27. ชนิดของแฟ้มข้อมูล 5. แฟ้มตารางอ้างอิง (Table Look-up File) • แฟ้มตารางอ้างอิงเป็นไฟล์หรือตารางที่ใช้เพื่อการอ้างอิงข้อมูล • ข้อมูลที่จัดเก็บลงในแฟ้มตารางค่อนข้างคงที่ หรือมักไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ • เช่น ตารางภาษี ตารางรหัสไปรษณีย์ ตารางคณะ ตารางสาขา เป็นต้น • ตัวอย่าง การค้นหาพื้นที่ของรหัสไปรษณีย์ว่าอยู่ในเขตจังหวัดใด จะนำรหัสไปรษณีย์ไปอ้างอิงเพื่อค้นหาในตารางไปรษณีย์ ก็จะทราบว่าอยู่ในเขตจังหวัดใด

  28. ชนิดของแฟ้มข้อมูล 6. แฟ้มเพื่อการตรวจสอบ (Audit File) • แฟ้มตรวจสอบ เป็นไฟล์พิเศษที่ใช้เก็บประวัติการบันทึกเรคอร์ดต่าง ๆที่ถูกอัปเดตลงในไฟล์ • แฟ้มตรวจสอบจะคอยติดตามบันทึกประวัติการประมวลผลของแฟ้มข้อมูลหลักและแฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง เพื่อสามารถนำไปใช้เพื่อการกู้คืนข้อมูลในกรณีที่ระบบเกิดความเสียหาย • บางครั้งเรียกแฟ้มตรวจสอบว่า Log File

  29. การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล (File Organizations) • การจัดการแฟ้มข้อมูล (File Organization)เป็นเทคนิคที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล การเตรียมวิธีการเข้าถึงข้อมูล การเรียกใช้ และการปรับปรุงข้อมูล มี 4 ประเภท คือ 1. โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ 2. โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม หรือโครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเข้าถึงโดยตรง 3. แฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับเชิงดัชนี

  30. 1. โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ (Sequential File Organizations) • เป็นแฟ้มข้อมูลที่มีการเรียงลำดับตั้งแต่เรคคอร์ดแรกจนถึงเรคคอร์ดสุดท้าย • มีการจัดเก็บข้อมูลแบบเรียงลำดับต่อเนื่องไปตามค่าของคีย์ (Key Field) • ข้อมูลที่มีลำดับติดกันจะถูกบันทึกไว้ในตำแหน่งที่อยู่ติดกันตามลำดับ • อาจมีการเรียงลำดับจากน้อยไปมาก หรือมากไปน้อย • สามารถใช้งานได้ง่ายและเสียค่าใช้จ่ายน้อย แต่เสียเวลามากในการทำงาน • เหมาะกับงานที่มีการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่เป็นลำดับในปริมาณมาก • อุปกรณ์ / สื่อที่ใช้เก็บคือ เทปแม่เหล็ก เพราะมีราคาถูก

  31. การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูลการจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ (Sequential File Organization) Start Of file Scan ข้อเสียการจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ คือ ไม่สามารถเข้าถึงตำแหน่งข้อมูลที่ต้องการได้ทันที

  32. 2. โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม (Random File Organizations) หรือ โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเข้าถึงโดยตรง(Directed File Organizations) • สามารถทำงานได้เร็ว เพราะไม่ต้องเรียงลำดับข้อมูล • สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทันที (Direct Access) • หลักการ คือ การกำหนดคีย์ฟิลด์ที่ใช้ระบุตำแหน่งข้อมูลผ่านฟังก์ชั่นแฮช • ฟังก์ชั่นแฮชคือสูตรฟังก์ชั่นที่ใช้แปลงคีย์ให้เป็นตำแหน่งแอดเดรส เมื่อได้ตำแหน่งแอดเดรส สามารถชี้ตำแหน่งข้อมูลในหน่วยความจำเพื่อนำข้อมูลออกมาใช้งาน • เหมาะกับการใช้งานแบบ Online Transaction Processing • ไม่เหมาะกับงานที่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในปริมาณที่มาก • อุปกรณ/สื่อที่ใช้เก็บคือ จานแม่เหล็ก • การเขียนโปแกรมเพื่อค้นหาข้อมูลจะมีความซับซ้อน

  33. 2. โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม (Random File Organizations) หรือ โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเข้าถึงโดยตรง(Directed File Organizations) Key (Hunsa) Hashing algorithm Relative record number

  34. 3. โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับเชิงดัชนี(Indexed Sequential File) • นำจุดเด่นของโครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับหรือแบบสุ่ม กับแบบเข้าถึงโดยตรงมาประยุกต์รวมกัน • สามารถรองรับการประมวลผลได้ทั้งแบบ Sequential และ แบบ Random (หรือแบบ Directed) • เหมาะกับการประมวลผลแบบ Online • เสียเนื้อที่ในการจัดเก็บอินเด็กซ์หรือต้องสร้างตารางดัชนีที่ใช้ในการอ้างถึง ตำแหน่งของข้อมูล • การเขียนโปรแกรมเพื่อค้นหาข้อมูลจะมีความซับซ้อน และการทำงานจะช้ากว่าแบบ Random และเสียค่าใช้จ่ายสูง • อุปกรณ/สื่อที่ใช้เก็บคือ จานแม่เหล็ก

  35. 3. โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับเชิงดัชนี(Indexed Sequential File) • หลักการคือ • แฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับดัชนีสามารถดึงข้อมูลแบบเรียงลำดับ หรือแบบเข้าถึงโดยตรงก็ได้ • ในกรณีที่ต้องการเข้าถึงข้อมูลแบบเข้าถึงโดยตรง จะตรงไปยังพื้นที่ดัชนี (Index Area) เพื่อค้นหาแอดเดรส เมื่อได้แอดเดรสแล้ว จะต้องไปยังตำแหน่งแรกของข้อมูล • ขั้นตอนต่อไปคือ ทำการค้นหาข้อมูลแบบเรียงลำดับจนกระทั่งพบข้อมูลที่ต้องการ

  36. โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบดัชนี (Indexed File Organizations) Key (Hunsa) … … … …

  37. วัตถุประสงค์ของการจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูลวัตถุประสงค์ของการจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล • เพื่อให้การดึงข้อมูลมีความรวดเร็วขึ้น • เพื่อให้การประมวลผลข้อมูลมีอัตราทรูพุต (Throughput)ที่ดี • เพื่อใช้งานอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ • ป้องกันความเสียหายหรือความสูญเสียของข้อมูล • เพื่อรองรับอัตราการเติบโตของข้อมูลที่เพิ่มขึ้น • เพื่อความปลอดภัยจากผู้ใช้งานที่ไม่มีสิทธิ์ในการใช้งานข้อมูล

  38. ข้อจำกัดของวิธีแฟ้มข้อมูล (Limitations of the File-Based Approach) 1. ข้อมูลมีการเก็บแยกจากกัน (Separation and Isolation of Data) 2. เกิดความซ้ำซ้อนของข้อมูล (Duplication of Data) 3. ข้อมูลมีความขึ้นต่อกัน (Data Dependence) 4. มีรูปแบบที่ไม่ตรงกัน (Incompatible File Formats) 5. รายงานต่างๆ ถูกกำหนดไว้อย่างจำกัด (Fixed Queries)

  39. 1. ข้อมูลมีการเก็บแยกจากกัน (separation and isolation of data) แฟ้มพนักงาน (Employees) แฟ้มพนักงานขาย (Salesman)

  40. 2. ข้อมูลมีความซ้ำซ้อน (duplication of data/redundancy) • สืบเนื่องมาจากการเก็บข้อมูลแยกจากกัน ทำให้ไม่สามารถควบคุมข้อมูลไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อนได้ ที่สำคัญคือการทำให้เสียพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลเพิ่มขึ้น จากตัวอย่างข้างต้น คือ พนักงานชื่อ นายสมชาย และนายดิเรก ถูกเก็บลงแฟ้มข้อมูล 2 แฟ้ม ทั้งที่ควรเป็นข้อมูลชุดเดียวกัน ดังนั้นจึงทำให้เกิดความผิดพลาดของข้อมูล 3 ลักษณะด้วยกัน คือ

  41. 2.1 ข้อผิดพลาดจากการเพิ่มข้อมูล (Insertion anomalies) แฟ้มพนักงาน (Employees) Insertion แฟ้มพนักงานขาย (Salesman)

  42. 2.2 ข้อผิดพลาดจากการลบข้อมูล (Deletion anomalies) แฟ้มพนักงาน (Employees) Deletion จากแฟ้มพนักงานไปแล้ว แฟ้มพนักงานขาย (Salesman)

  43. 2.3 ข้อผิดพลาดจากการเปลี่ยนแปลงข้อมูล (Modification anomalies) แฟ้มพนักงาน (Employees) Modification เปลี่ยนชื่อ แฟ้มพนักงานขาย (Salesman)

  44. ตัวอย่างการจัดการข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูลตัวอย่างการจัดการข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล ฝ่ายทะเบียนวัดผล ฝ่ายงานบัญชี  แฟ้มนักเรียน แฟ้มการลงทะเบียน แฟ้มรายวิชา แฟ้มผลการเรียน  แฟ้มนักเรียน แฟ้มการเงิน ความซ้ำซ้อน & ความไม่สอดคล้องของข้อมูล หมวดวิชาคณิตศาสตร์ หมวดวิชาคอมพิวเตอร์   แฟ้มนักเรียน แฟ้มผลการเรียน แฟ้มนักเรียน แฟ้มผลการเรียน

  45. 3.ข้อมูลมีความขึ้นต่อกัน(Data dependence) ปัญหาดังกล่าวจะเกิดขึ้นเมื่อมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล จะส่งผลกระทบกับข้อมูลที่ทำการจัดเก็บอยู่ และส่งผลทำให้ข้อมูลในหน่วยงานอื่น ๆที่จัดเก็บไม่ตรงกัน และวิธีการปรับปรุงค่อนข้างจะยุ่งยากมาก Master File (Old Structure) NewMaster File Update File Temporary File (New Structure)

  46. 4. มีรูปแบบที่ไม่ตรงกัน (Incompatible File Formats) ความไม่สอดคล้องของข้อมูล คือ การที่ข้อมูลเดียวกันถูกจัดเก็บไว้ในหลายๆแห่ง มีค่าไม่ตรงกัน ซึ่งอาจเกิดจากความผิดพลาดของการป้อนข้อมูล มีรูปแบบไม่ตรงกัน เช่น การป้อนข้อมูลหมายเลขโทรศัพท์ ควรจะเป็น 0-5541-1096 แต่กลายเป็น 055-411096 เป็นต้น รูปแบบแฟ้มข้อมูลที่ 2 O55-411096 น.ส. รูปแบบแฟ้มข้อมูลที่ 1 O-5541-1096 นางสาว

  47. 5. รายงานต่าง ๆ ถูกกำหนดไว้อย่างจำกัด(fixed queries/proliferation of application programs) ระบบแฟ้มข้อมูลของแต่ละหน่วยงานถูกเขียนขึ้นด้วยหลาย ๆโปรแกรม และการใช้งานในแต่ละหน่วยงานก็แตกต่างกัน ดังนั้นในส่วนของการจ้างโปรแกรมเมอร์มาทำการพัฒนาโปรแกรมนั้นก็จะมีส่วนที่กำหนดในเรื่องของรายงานที่หน่วยงานต้องการใช้ แต่หากว่าต้องการรายงานอื่น ๆ เพิ่มในอนาคตก็ต้องทำการว่าจ้างโปรแกรมเมอร์มาพัฒนาทำให้เสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม ดังนั้นจะเห็นว่าเกิดปัญหาในเรื่องของความต้องการของผู้ใช้งาน

  48. ข้อดีของวิธีแฟ้มข้อมูล (Advantages of File-Based approach) • ง่ายต่อการออกแบบและการพัฒนา (easy to design and implement) • การประมวลผลแบบแฟ้มข้อมูลเป็นวิธีดังเดิมที่ใช้กันมานาน และมีความรวดเร็ว (historically and processing speed)

  49. การจัดการข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูลการจัดการข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล เป็นการจัดเก็บข้อมูลในลักษณะแฟ้มข้อมูลที่อิสระจากกัน แฟ้มข้อมูลอาจารย์ ระบบเงินเดือน รายงาน แฟ้มข้อมูลวิชาที่เปิดสอน ระบบตารางสอน รายงาน แฟ้มข้อมูลเกรด ระบบเกรด รายงาน

  50. ระบบแฟ้มข้อมูล (File System)  • ข้อมูลรายวิชา • ข้อมูลนักเรียน • ข้อมูลการลงทะเบียน โปรแกรมการลงทะเบียน  • ข้อมูลรายวิชา • ข้อมูลนักเรียน • ข้อมูลผลการเรียน โปรแกรมประมวลผลการเรียนแต่ละเทอม  • ข้อมูลรายวิชา • ข้อมูลการลงทะเบียน โปรแกรมจัดการรายวิชา

More Related