1 / 16

โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวงทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน

โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวงทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธี มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. วัตถุประสงค์.

fruma
Download Presentation

โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวงทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวงทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวงทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธี มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554

  2. วัตถุประสงค์ • เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ 84 พรรษา • เพื่อตรวจคัดกรองและประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพของประชาชนตลอดจนกระตุ้นให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและดูแลสุขภาพตนเอง • 3. เพื่อกำหนดมาตรการเชิงรุกและบริการที่เหมาะสมแก่กลุ่มปกติ • กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน(ลดป่วย • ลดภาวะแทรกซ้อน ลดตาย ) • เพื่อสร้างกระแสให้ประชาชนใส่ใจดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น • 5. เพื่อให้มีระบบเฝ้าระวังและป้องกันความเสี่ยง

  3. กลยุทธ / มาตรการ 1. กลยุทธ/มาตรการหลัก 1.1 การพัฒนาระบบบริการ (Individual approach) ก. การตรวจสุขภาพเชิงรุก ข. การให้บริการในสถานบริการ 1.2 การพัฒนาศักยภาพชุมชน (Community approach) โดยใช้ SRM ( Strategic Route Map )

  4. กลยุทธ / มาตรการ 2. กลยุทธ/มาตรการสนับสนุน 2.1 การขับเคลื่อนทางสังคมและสื่อสารสาธารณะ 2.2 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและชุมชน และทำคู่มือต่างๆ 2.3 การจัดระบบการติดตามประเมินผล เช่น NCD Board 2.4 การจัดระบบฐานข้อมูล

  5. นพ.โสภณ เมฆธน ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข

  6. Approachกลุ่มประชาชนทั่วไปApproachกลุ่มประชาชนทั่วไป 1. คัดกรองเบื้องต้นโดย อสม. (6 ข้อ) 2. คัดกรองโดย จนท.สาธารณสุข กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มป่วย กลุ่มป่วยมีภาวะแทรกซ้อน • FCG < 100 • BP < 120/80 • FCG 100 - 125 • BP 120/80 – 139/89 • FCG > 126 • BP >140/90 • ตา • ไต • ตีน 3อ. 2ส. • ลงทะเบียน • 3อ. 2ส. เข้มข้น • DPAC • ลงทะเบียน • 3อ. 2ส. • DPAC • ลงทะเบียน • 3อ. 2ส. • DPAC • รักษาดูHbA1C • ค้นหาภาวะแทรกซ้อน • ถ่ายภาพจอประสาทตา • microalbuminuria • ตรวจเท้า • รักษาโรคและ • ภาวะแทรกซ้อน

  7. ตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการ Out put 1. ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐานที่กำหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2. มีหมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวงทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ 1 รพ.สต. / 1 หมู่บ้าน/(ชุมชน) (9,700 แห่ง)

  8. ตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการ Out come 1. ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงต่อเบาหวานป่วยเป็นโรคเบาหวานไม่เกินร้อยละ5 หรือลดลงจากฐานข้อมูลเดิมในปี 2553 อย่างน้อยร้อยละ 2 2. อัตราเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยโรคเบาหวานลดลงจากฐานข้อมูลเดิมของจังหวัดในปี 2553 อย่างน้อยร้อยละ 3 3. อัตราเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยโรคความดันโลหิตสูงลดลงจากฐานข้อมูลเดิมของจังหวัดในปี 2553 อย่างน้อยร้อยละ 3

  9. แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย พ.ศ.2554-2563 เป้าประสงค์สูงสุด ประชาชน ชุมชน สังคม และประเทศ มีภูมิคุ้มกันและศักยภาพในการสกัดกั้นภัยคุกคามสุขภาพจากโรควิถีชีวิตที่สำคัญได้ เป้าหมายและตัวชี้วัดหลักในการพัฒนา [3 เป้าหมายหลัก, 18 ตัวชี้วัดหลัก] 5 โรควิถีชีวิตที่สำคัญ 1] เบาหวาน 2] ความดันโลหิตสูง 3] หัวใจ 4] หลอดเลือดสมอง 5] มะเร็ง 5 ด้าน 1] การเกิดโรค 2] ภาวะแทรกซ้อน 3] พิการ 4] ตาย 5] ภาระค่าใช้จ่าย 3 วิถีชีวิตที่พอเพียง 1] การบริโภคที่เหมาะสม 2] การออกกำลังกายที่เพียงพอ 3] การจัดการอารมณ์ได้ เหมาะสม ระยะกลาง 5 ปี [2554-2558] ปฎิบัติการเชิงรุกสู่การวางรากฐานที่ มั่นคงเชิงโครงสร้างและระบบ ระยะยาว 10 ปี [2554-2563] สร้างความเข้มแข็งเชิงโครงสร้าง และระบบการป้องกันและ แก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน ระยะสั้น 1-3 ปี [2554-2556] บูรณาการความคิด สร้างความ เชื่อมั่นและการมีส่วนร่วม ขับเคลื่อนของภาคีเครือข่ายร่วม Roadmap Strategy นโยบาย สาธารณะ สร้างสุข การขับเคลื่อนทางสังคม และ สื่อสารสาธารณะ การพัฒนา ศักยภาพ ชุมชน การพัฒนาระบบ เฝ้าระวังและ การจัดการโรค การสร้างความ เข้มแข็งของระบบ สนับสนุนยุทธศาสตร์

  10. ผลการตรวจสุขภาพประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ครั้งที่ 1 รับการตรวจเบาหวานทั้งหมด 20,985,133 คน (27 พ.ย.52 – 5 ธ.ค. 52) ครั้งที่ 2 ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป 23,044,060 คิดเป็นร้อยละ 86.19 ของประชากรเป้าหมาย (มกราคม 2553 ถึง ธันวาคม 2553 ) ที่มา: การตรวจสุขภาพเชิงรุก โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ

  11. ผลการตรวจสุขภาพประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่พบภาวะแทรกซ้อน โรคเบาหวาน ที่มา: การตรวจสุขภาพเชิงรุก โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ

  12. ผลการตรวจสุขภาพประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ครั้งที่ 1 รับการตรวจวัดความดันโลหิตสูง 21,168,414 คน (27 พ.ย.52 – 5 ธ.ค. 52) ครั้งที่ 2 ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป 23,044,060 คิดเป็นร้อยละ 86.19 ของประชากรเป้าหมาย (มกราคม 2553 ถึง ธันวาคม 2553 ) ที่มา: การตรวจสุขภาพเชิงรุก โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ

  13. ผลการตรวจสุขภาพประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่พบภาวะแทรกซ้อน โรคความดันโลหิตสูง ที่มา: การตรวจสุขภาพเชิงรุก โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ

  14. 3.1 ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน ที่มาข้อมูล: แบบรายงาน NCD 1, ฐานข้อมูล PPIS

  15. 3.2 ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง ที่มาข้อมูล: แบบรายงาน NCD 1, ฐานข้อมูล PPIS

  16. สวัสดีครับ จงเชื่อมั่น และทำให้เป็นจริง นพ.โสภณ เมฆธน ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 16

More Related