1 / 17

ยุทธศาสตร์การกระจายอำนาจ ตามร่างแผนการกระจายอำนาจ ฉบับที่ ๓

แนวทางการถ่ายโอนภารกิจและบุคลากรด้านสาธารณสุข ตามร่างแผนปฏิบัติการด้านถ่ายโอนภารกิจ (ฉบับที่ ๓) และถ่ายโอนบุคลากร (ฉบับที่ ๓) โดย นายณรงค์ เชื้อบุญช่วย นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.

fritz
Download Presentation

ยุทธศาสตร์การกระจายอำนาจ ตามร่างแผนการกระจายอำนาจ ฉบับที่ ๓

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการถ่ายโอนภารกิจและบุคลากรด้านสาธารณสุขตามร่างแผนปฏิบัติการด้านถ่ายโอนภารกิจ (ฉบับที่ ๓)และถ่ายโอนบุคลากร (ฉบับที่ ๓)โดยนายณรงค์ เชื้อบุญช่วยนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษสำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

  2. ยุทธศาสตร์การกระจายอำนาจตามร่างแผนการกระจายอำนาจ ฉบับที่ ๓ • ส่งเสริมให้ อปท. มีอิสระและเป็นหน่วยงานหลักในการจัดบริการสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ • การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางการเงินการคลังของ อปท. • การถ่ายโอนบุคลากรจากภาครัฐให้แก่ อปท. และการพัฒนาการบริหารทรัพยากรบุคลากรของ อปท. เพื่อรองรับการกระจายอำนาจ • ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่าง อปท. ด้วยกันเอง อปท. กับภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน

  3. ยุทธศาสตร์การกระจายอำนาจตามร่างแผนการกระจายอำนาจ ฉบับที่ ๓ (ต่อ) • เสริมสร้าง และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน ภาคประชาสังคม ชุมชน และภาคเอกชน • ระบบติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. • การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการสาธารณะของ อปท.

  4. ร่างแผนปฏิบัติการฯ (ฉบับที่ ๓)การถ่ายโอนภารกิจของกระทรวงสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

  5. วงจรสุขภาพ ระบบ การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสภาพ

  6. วงจรสุขภาพ (ต่อ) • วงจรสุขภาพด้านปฐมภูมิให้ อปท. รับถ่ายโอนไปทั้งหมด • วงจรสุขภาพด้านทุติยภูมิให้ อปท. รับถ่ายโอนตามความเหมาะสม ความจำเป็น และความพร้อม • ให้มีคณะอนุกรรมการคณะหนึ่งทำหน้าที่ศึกษารายละเอียดวงจรสุขภาพและสมควรถ่ายโอนกิจกรรมใดให้กับ อปท. ให้แล้วเสร็จภายใน ๖ เดือน

  7. รูปแบบการถ่ายโอน ถ่ายโอน ร.พ.สต. หรือ รพช. หรือ รพท. แบบแยกส่วน รูปแบบ การถ่ายโอน ร่วมกลุ่ม รพ.สต. ถ่ายโอนให้ อบจ. ถ่ายโอน รพ.สต. และ รพช. หรือ รพท. เป็นพวงบริการ รูปแบบอื่นๆ ที่สอดคล้องกับหลักการกระจายอำนาจ

  8. กลไกการถ่ายโอน คณะกรรมการส่งเสริมการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ ประธาน (ผู้ทรงคุณวุฒิที่ กกถ. แต่งตั้ง) ผู้แทน สธ. กรรมการ จากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เลขานุการ ผู้แทน สกถ.

  9. ร่างแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ (ฉบับที่ ๓) ด้านการถ่ายโอนบุคลากรและการพัฒนาการบริหารทรัพยากรบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แนวทางการถ่ายโอนบุคลากร • ยึดหลัก “งานไป เงินไป ตำแหน่งไป บุคลากรสมัครใจ” • ให้ข้าราชการที่ไม่สมัครใจถ่ายโอนอยู่ช่วยราชการได้ไม่เกิน ๒ ปี • สร้างหลักประกันความก้าวหน้าและสิทธิประโยชน์ของบุคลากรที่ถ่ายโอน • ส่วนราชการที่ถ่ายโอนภารกิจต้องมีส่วนร่วมในการฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะให้แก่บุคลากรของ อปท. ที่ถ่ายโอน • จัดตั้งศูนย์ประสานการถ่ายโอนบุคลากรขึ้นใน สกถ.

  10. การถ่ายโอนบุคลากรหรืออัตรากำลังให้ อปท. • การวิเคราะห์อัตรากำลังและตำแหน่งของหน่วยงานที่จะต้องถ่ายโอนให้แก่ อปท. ตามภารกิจที่ถ่ายโอน วิธีการและขั้นตอน ๑. ศึกษาแผนปฏิบัติการด้านการถ่ายโอนภารกิจ ๒ วิเคราะห์กรอบอัตรากำลังและตำแหน่งของบุคลากรของหน่วยงานซึ่งปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจต้องถ่ายโอน

  11. การถ่ายโอนบุคลากรหรืออัตรากำลังให้ อปท. (ต่อ) • การสอบถามความสมัครใจของบุคลากรซึ่งปฏิบัติหน้าที่อยู่ ในตำแหน่งที่จะต้องถ่ายโอนและบุคลากรในสังกัดที่ประสงค์ จะถ่ายโอน วิธีการและขั้นตอน ๑. จัดประชุมชี้แจง ภายใน ๖๐ วัน นับแต่ได้วิเคราะห์อัตรากำลัง และตำแหน่งที่จะต้องถ่ายโอน ๒. สอบถามความสมัครใจ ภายใน ๓๐ วัน หลังจากประชุมชี้แจง

  12. การถ่ายโอนบุคลากรหรืออัตรากำลังให้ อปท. (ต่อ) ๓.การเปรียบเทียบตำแหน่งและระดับของบุคลากรที่สมัครใจโอนไปสังกัด อปท. เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจที่ถ่ายโอน วิธีการและขั้นตอน ให้ดำเนินการเปรียบเทียบตำแหน่ง ระดับและอัตราเงินเดือน ของบุคลากรที่จะถ่ายโอนให้สอดคล้องกับระบบบริหารงานบุคคลของ อปท. ในสายงานเดียวกันหรือสายงานใกล้เคียงกัน

  13. การถ่ายโอนบุคลากรหรืออัตรากำลังให้ อปท. (ต่อ) ๔. การจัดทำบัญชีอัตราและตำแหน่งที่จะถ่ายโอนให้แก่ อปท. วิธีการและขั้นตอน ๑. รอบรวมรายชื่อบุคลากรที่สมัครใจถ่ายโอนส่งมอบให้แก่ อปท. ที่จะรับการการถ่ายโอนและส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ๑.๑ ตำแหน่งและจำนวนอัตราของบุคลากร ซึ่ง อปท. ที่รับโอนควรต้องมีไว้เพื่อปฏิบัติภารกิจถ่ายโอน (ต่อ)

  14. ๑.๒ จำนวนรายชื่อ และตำแหน่ง อัตราเงินเดือนของบุคลากรที่สมัครใจ ตำแหน่ง และระดับเปรียบเทียบกับตำแหน่งในสายงานของ อปท. และสถานภาพการเป็นสมาชิก กบข. ๑.๓ จำนวนรายชื่อของบุคลากรที่หน่วยงานส่งมาช่วยราชการในระหว่างที่ อปท. กำลังสรรหาอัตรากำลังมาทดแทน ๑.๔ จำนวนรายชื่อของบุคลากรที่ประสงค์ จะมาช่วยราชการเพื่อรอการตัดสินใจ ๑.๕ จำนวนและตำแหน่งของบุคลากรที่ อปท. จะต้องจัดหาเพิ่มเติม ๑.๖ อื่น ๆ ระยะเวลาภายใน ๒ สัปดาห์ นับแต่วันที่ถามความสมัครใจและ เปรียบเทียบตำแหน่งเสร็จ

  15. ๔. การจัดทำบัญชีอัตราและตำแหน่งที่จะถ่ายโอนให้แก่ อปท. (ต่อ) ๒. ส่งสำเนาบัญชีอัตรากำลังดังข้างต้น ให้ กพ . สงป . สถถ และ สถ เพื่อดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง ระยะเวลาภายใน ๑ สัปดาห์ นับแต่ทำบัญชีอัตรากำลังเสร็จ

  16. การถ่ายโอนบุคลากรหรืออัตรากำลังให้ อปท. (ต่อ) • การตัดโอนตำแหน่งและอัตราเงินเดือนให้แก่ อปท. ระยะเวลา ระยะเวลา ภายใน ๒ สัปดาห์นับแต่วันที่หน่วยงานที่ถ่ายโอนกับ อปท. ที่รับโอนได้ทำความตกลงกัน • จัดหาอัตรากำลังให้แก่ อปท. ที่จำเป็นต้องมีบุคลากรสำหรับการปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจที่ถ่ายโอนหรือเพื่อทดแทนบุคลากรที่ไม่ถ่ายโอน วิธีการและขั้นตอน ๑. ศึกษาปริมาณงานที่ อปท. ได้รับการถ่ายโอนและวิเคราะห์กรอบอัตรากำลัง ๒. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนและตำแหน่งของบุคลากรของ อปท. ที่ จะต้องปฏิบัติหน้าที่ แต่ไม่ได้รับการถ่ายโอน ๓ ขอรับการจัดสรรเงินอุดหนุนจากรัฐบาลผ่าน กกถ. ๔. จัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. ตามมติ กกถ.

  17. จบการนำเสนอ ขอขอบคุณ

More Related