1 / 40

การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม

การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม. มี 2 ชนิด. คือ การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรแบบไม่ต่อเนื่อง และ. การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรแบบต่อเนื่อง. การแจกแจงความน่าจะเป็น ของตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง.

Download Presentation

การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม มี 2 ชนิด คือ การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรแบบไม่ต่อเนื่องและ การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรแบบต่อเนื่อง การแจกแจงความน่าจะเป็น ของตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง เป็นความน่าจะเป็นที่เกิดขึ้นแน่นอนในแต่ละค่าของตัวแปรจึงสามารถแสดงในรูปของฟังก์ชันหรือตารางได้ มีการแจกแจงความน่าจะเป็นที่สำคัญมี 4 ชนิด การแจกแจงความน่าจะเป็นเอกรูป (uniform probability distribution) การแจกแจงความน่าจะเป็นแบร์นูลี(Bernoulli probability distribution) การแจกแจงความน่าจะเป็นทวินาม (binomial probability distribution) การแจกแจงความน่าจะเป็นปัวส์ซอง (poisson probability distribution)

  2. 1) การแจกแจงความน่าจะเป็นเอกรูป

  3. 2) การแจกแจงความน่าจะเป็นแบร์นูลี โดยทั่วไปแล้วในการทดลองต่างๆนั้นอาจมีผลลัพธ์ได้หลายอย่างแต่ความสนใจนั้นอาจสนใจเพียงอย่างเดียว อย่างอื่นไม่สนใจเลยก็ได้ เรียกการทดลองที่มีผลลัพธ์ที่เป็นไปได้เพียงสองอย่างนี้ว่า การทดลองแบร์นูลี 0 ; ในกรณีอื่นๆ

  4. 3) การแจกแจงทวินาม ถ้าทำการทดลองเอกรูปซ้ำ ๆ กันจำนวน n ครั้ง เราเรียกการทดลองนี้ว่าการทดลองทวินาม ถ้าให้ X แทนจำนวนครั้งที่เกิดเหตุการณ์สำเร็จในการทดลอง n ครั้ง ดังนั้น x = 0,1,2,…,n ส่วนจำนวนเหตุการณ์ที่ไม่สำเร็จคือ n-x ดังนั้นความน่าจะเป็นที่จะได้เหตุการณ์สำเร็จ x ครั้ง คือ

  5. 4. การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบทวินามลบ (Negative Binomial Probability Distribution) ถ้ามีการทดลองแบบเบอร์นูลี่ซ้ำๆ กัน จนกว่าจะได้สิ่งที่สนใจเป็นครั้งที่ r(r>1) จะเรียกการทดลองนี้ว่า ”การทดลองแบบทวินามลบ” เส้น X เป็น จำนวนครั้งของการโยนลูกเต๋าจนกว่าจะได้เลข 5 เป็นครั้งที่ 3 (r=3)หรือ X เป็นจำนวนสินค้าที่ตรวจสอบจนกว่าได้สินค้าชำรุดชิ้นที่ 7(r=7) ดังนั้นในการทดลองสุ่ม X ครั้ง จะได้สิ่งที่ไม่สนใจครั้งที่ r-1 ครั้ง และได้สิ่งที่สนใจครั้งที่ r ในการทดลองครั้งที่ X ดังแสดงในแผนภาพข้างล่างนี้

  6. E(X) = = r/p V(X) = =rq/p2

  7. 5) การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบเรขาคณิต ( Geometrix Probability Distribution ถ้าทำการทดลองแบบเบอร์นูลี่ซ้ำกันหลายๆ ครั้ง และนับจำนวนครั้วของการทดลองจนกว่าจะได้สิ่งที่สนใจ (success) เป็นครั้งแรก ฟังก์ชันการแจกแจงความน่าจะเป็นของ X คือ P(x;p) = P(x) =P(X = x) = qX - 1 p ค่าเฉลี่ยตัวแปรสุ่มแบบเลขาคณิต ถ้า X เป็นตัวแปรสุ่มแบบเรขาคณิตที่มีพารามิเตอร์ p

  8. 6) การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบพหุนาม (Multinomail Probability Distribution) การทดลองสุ่มแบบพหุนามเป็นการทดลองสุ่มเสมือนการทดลองแบบทวินาม แต่ผลลัพธ์ของการทดลองแต่ละครั้งมีมากกว่า 2 อย่าง เช่น ผลการตรวจสอบคุณภาพสินค้าอาจจะเป็นชำรุดมาก ใช้ไม่ได้ ชำรุดเล็กน้อย และสินค้ามีคุณภาพดี

  9. 7).การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบไฮเพอร์จีออเมตริก (Hypergeometric Probability Distribution) จาการทดลองแบบทวินามซึ่งการทดลองแต่ละครั้งจะต้องเป็นอิสระต่อกัน การทดลองแบบทวินามเป็นการทดลองที่มีการนำของที่สุ่มได้ใส่คืน แต่ถ้าให้มีการสุ่มลูกบอลจากล่องใบนี้โดยไม่มีการใส่คืน จะทำให้การหยิบหรือการทดลองแต่ละครั้งไม่เป็นอิสระต่อกัน จะเรียกการทดลองนี้ว่า “การทดลองแบบไฮเพอร์จีออเมตริก” ซึ่งมีลักษณะการทดลองดังนี้

  10. 8) การแจกแจงความน่าจะเป็นปัวส์ซอง เป็นการแจกแจงที่อธิบายถึงจำนวนครั้งที่เกิดเหตุการณ์สำเร็จในช่วงเวลาที่กำหนด

  11. การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง 1) การแจกแจงที (t-distribution) มีลักษณะคล้ายการแจกแจงปกติมาตรฐาน คือเป็นโค้งรูประฆังคว่ำ แต่มีลักษณะแบนราบกว่าโค้งปกติมาตรฐาน การแจกแจงปกติ การแจกแจงที ที่ระดับขั้นความเสรี 20 การแจกแจงที ที่ระดับขั้นความเสรี 15

  12. 2.528 1.725 -2.528 2.845

  13. 2) การแจกแจงไคสแควร์ (– distribution) มีลักษณะไม่สมมาตร มีเฉพาะค่าบวกเท่านั้น ถ้าระดับขั้นความเสรี เพิ่มขึ้นความเบ้จะลดลง

  14. 0.90 0.05 0.05 31.41 10.85

  15. (df1 = 25 , df2 = 25) (df1 = 5 , df2 = 5) (df1 = 2 , df2 = 1) 3) การแจกแจงเอฟ (F - distribution)

  16. 4. การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบปกติ (Nornal Probability Distributionv)ซึ้งมีคุณสมบัติดังนี้

More Related