1 / 16

การเข้าถึงสัญชาติไทย และการพัฒนาสถานะบุคคล ตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติฉบับใหม่

การเข้าถึงสัญชาติไทย และการพัฒนาสถานะบุคคล ตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติฉบับใหม่. โดย. ส่วนประสานราชการ สำนักกิจการความมั่นคงภายใน. เบอร์โทร 0-2223-6740. ทางวัฒนธรรม. การเป็นสมาชิกของรัฐซึ่งผูกพันกันโดยภาษา ชาติพันธุ์ ศาสนา. สัญชาติ. มีความหมาย. ทางกฎหมาย.

Download Presentation

การเข้าถึงสัญชาติไทย และการพัฒนาสถานะบุคคล ตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติฉบับใหม่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเข้าถึงสัญชาติไทย และการพัฒนาสถานะบุคคล ตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติฉบับใหม่ โดย ส่วนประสานราชการ สำนักกิจการความมั่นคงภายใน เบอร์โทร 0-2223-6740

  2. ทางวัฒนธรรม การเป็นสมาชิกของรัฐซึ่งผูกพันกันโดยภาษา ชาติพันธุ์ ศาสนา สัญชาติ มีความหมาย ทางกฎหมาย เป็นความผูกพันระหว่างบุคคลนั้นสังกัดอยู่กับรัฐใด และรัฐนั้นสามารถใช้อำนาจทางกฎหมายแก่บุคคลดังกล่าว ในทางกลับกันบุคคลผู้ถือสัญชาติของรัฐก็มีสิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกับบุคคลอื่นที่ถือสัญชาติของรัฐนั้น

  3. บุคคลใดมีสัญชาติไทยหรือไม่บุคคลใดมีสัญชาติไทยหรือไม่ กฎหมายว่าด้วยสัญชาติของไทย ถ้ามี .. บุคคลดังกล่าวได้ถือสัญชาติไทยหรือยัง เป็นการพิจารณาว่า ถ้าเสียแล้วบุคคลดังกล่าว ได้กลับคืนสัญชาติไทยแล้วหรือไม่

  4. การได้สัญชาติไทยตามพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. 2508 และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึง ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2551 การได้สัญชาติไทย การกลับคืนสัญชาติไทย โดยการเกิด หลังการเกิด โดยการสมรส หลักสายโลหิต โดยการแปลงสัญชาติเป็นไทย หลักดินแดน โดยคำสั่ง รมว.มท. โดยผลของกฎหมาย

  5. แผนผังแสดงการได้สัญชาติไทยตาม พ.ร.บ. สัญชาติ พ.ศ. 2508 และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึงฉบับที่ 4 พ.ศ. 2551 หลักสายโลหิต จากบิดาหรือมารดาไทย (ม.7(1)) โดยการเกิด หลักดินแดน หลัก เกิดในประเทศไทย ม.7(2) การได้สัญชาติไทย ภายหลังการเกิด ยกเว้น บิดาและมารดาเป็นคนต่างด้าวที่เป็นทูต หรือเจ้าหน้าที่องค์กรระหว่างประเทศ (ม.8) หรือ มีบิดาและมารดาเป็นคนต่างด้าวและขณะที่เกิดบิดาหรือมารดาเข้าเงื่อนไขที่ทำให้ไม่ได้สัญชาติไทย (ม.7 ทวิ วรรคหนึ่ง) สัญชาติไทยภายใต้ พ.ร.บ. สัญชาติ พ.ศ. 2508 และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึงฉบับที่ 4 พ.ศ. 2551 โดยการสมรส หญิงต่างด้าวสมรสกับชายไทย (ม.9) หลัก คุณสมบัติ ม.10 โดยการแปลงสัญชาติ ม.11, 12 วรรคสอง, 12/1 (1)(2)(3) ข้อยกเว้น แปลงให้ตนเอง (ม.12 วรรคหนึ่ง) แปลงให้ตนเองและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ม.12 วรรคสอง) แปลงให้บุคคลอื่นตาม (ม.12 วรรคหนึ่ง) การกลับคืนสัญชาติไทย โดยคำสั่งรัฐมนตรี (ม.7 ทวิ วรรคสอง) ชายหรือหญิงไทยสละสัญชาติไทย เพราะไปสมรส กับคนต่างด้าว และได้ขาดจากการสมรส ยื่นแสดง ความจำนงขอ (ม.23) ผู้ซึ่งมีสัญชาติไทยแต่ได้เสียสัญชาติตามบิดา หรือมารดา ขณะที่ตนยังไม่บรรลุนิติภาวะ ประสงค์ขอ (ม.24) ผู้ที่เกิดในประเทศไทยแต่ไม่ได้สัญชาติไทยตาม ม.7 ทวิ วรรคหนึ่ง ม.23 ฉ.4 พ.ศ. 2551 โดยผลของกฎหมาย เงื่อนไข ถูกถอนสัญชาติไทยตาม ปว.337 เกิดในไทยแต่ไม่ได้ไทยตาม ปว.337 บุตรของ และที่เกิดในไทยแต่ไม่ได้สัญชาติไทย อยู่จริงในไทยติดต่อกัน ประพฤติดี หรือทำคุณประโยชน์

  6. การได้สัญชาติไทย โดยการสมรส  การขอถือสัญชาติไทยตามสามี ตามมาตรา 9 ต่างด้าว ไทย ไทย (ม.9)

  7. การได้สัญชาติไทย โดยการแปลงสัญชาติเป็นไทย การขอแปลงสัญชาติเป็นไทย ตามมาตรา 12 วรรคหนึ่ง กรณีเป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วน ตามมาตรา 10 คุณสมบัติ 1. บรรลุนิติภาวะแล้วตามกฎหมายไทยและกฎหมายเดิมของตน 2. มีความประพฤติดี 3. มีอาชีพเป็นหลักฐาน 4. มีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักรไทยต่อเนื่องมาจนถึงวันที่ยื่นคำขอเป็นเวลาไม่น้อยกว่าห้าปี 5. พูดและฟังภาษาไทยเข้าใจได้ ไทย

  8. การขอแปลงสัญชาติเป็นไทย ตามมาตรา 12 วรรคสอง คุณสมบัติ 1. ประพฤติดี พ่อ,แม่ ไทย ยื่นคำขอแปลงให้พร้อมกับตน บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะตามกฎหมายไทย และมีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศไทย

  9. การขอแปลงสัญชาติเป็นไทย ตามมาตรา 12 วรรคหนึ่ง กรณีมาตรา 11 เป็นผู้ทำความดีความชอบเป็นพิเศษ หรือทำคุณประโยชน์ให้แก่ทางราชการตามที่ รมว.มท. เห็นสมควร  1. บรรลุนิติภาวะแล้วตามกฎหมายไทยและกฎหมายที่บุคคลนั้นมีสัญชาติ 2. มีความประพฤติดี 3. มีอาชีพเป็นหลักฐาน คุณสมบัติ ม.10 (ยกเว้น 10 (4) และ (5)) ไทย  เป็นบุตรหรือกริยาหรือสามีของผู้ได้แปลงหรือผู้ได้กลับคืนสัญชาติไทย  เป็นผู้เคยมีสัญชาติไทยมาก่อน  เป็นสามีของผู้มีสัญชาติไทย

  10. การขอแปลงสัญชาติเป็นไทย ตามมาตรา 12 วรรคหนึ่ง กรณีมาตรา 12/1 คุณสมบัติ ม.10 (ยกเว้น 10 (3),(4) ) 1. บรรลุนิติภาวะแล้วตามกฎหมายไทยและกฎหมาย ที่บุคคลนั้นมีสัญชาติ 2. มีความประพฤติดี 3. มีภูมิลำเนาในราชอาณาจักรไทยต่อเนื่อง มาจนถึงวันที่ยื่นคำขอแปลงสัญชาติเป็นไทยเป็นเวลา ไม่น้อยกว่าห้าปี ไทย ผู้อนุบาลตาม คำสั่งศาล คนไร้ความสามารถ ยื่นคำขอแปลงแทน

  11. คุณสมบัติ ม.10 (ยกเว้น 10 (1),(3) ) 1. มีความประพฤติดี 2. มีภูมิลำเนาในราชอาณาจักรไทยต่อเนื่อง มาจนถึงวันที่ยื่นคำขอแปลงสัญชาติเป็นไทยเป็นเวลา ไม่น้อยกว่าห้าปี 3. พูดและฟังภาษาไทยเข้าใจได้ ไทย ผู้เยาว์ใน สถานสงเคราะห์ ผู้ปกครอง สถานสงเคราะห์ ยื่นคำขอแปลงแทน บุตรบุญธรรมที่ยัง ไม่บรรลุนิติภาวะ ผู้รับบุตรบุญธรรม ยื่นคำขอแปลงแทน

  12. การขอถือสัญชาติไทยตามสามีผู้มีสัญชาติไทย ของคนต่างด้าว ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อย ตามมาตรา 9 แห่ง พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ.2508 1.1 นายอำเภอ/ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำอำเภอ (กรณีมีภูมิลำเนาอยู่ต่างจังหวัด)  สัมภาษณ์จากคณะทำงานสัมภาษณ์ สังเกตพฤติการณ์ และทดสอบความรู้ภาษาไทย ระดับจังหวัด 1.2 สัมภาษณ์จากคณะทำงานสัมภาษณ์ สังเกตพฤติการณ์ และทดสอบความรู้ภาษาไทย ระดับจังหวัด ผู้ยื่นคำขอฯ  ผู้อำนวยการสำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง (กรณีมีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพ) 1.3 1.3/1 คณะอนุกรรมการกลั่นกรอง การขอแปลงสัญชาติเป็นไทยฯ

  13. คณะกรรมการกลั่นกรองเกี่ยวกับสัญชาติ ตามมาตรา 25  กรณีอนุญาต กระทรวงมหาดไทย (ภายใน 7 วัน) กรณีไม่อนุญาต กระทรวงมหาดไทย (ภายใน 15 วัน)  เสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยพิจารณา  เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ประกาศในราชกกิจจานุเบกษา (มาตรา 5) สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง แจ้งผู้ยื่นคำขอฯ ทราบ กระทรวงมหาดไทย (ภายใน 15 วัน)  7.2 7.1 ผู้ว่าราชการจังหวัด / ปลัดกรุงเทพมหานคร(ที่ผู้ได้สัญชาติไทย มีภูมิลำเนาแล้วแต่กรณี) สำนักบริหารการทะเบียน - แจ้งผู้ได้สัญชาติไทยทราบการได้ สัญชาติไทย และให้ไปดำเนินการ ตามสิทธิหน้าที่ของผู้ได้สัญชาติไทย - แจ้งผู้ได้สัญชาติไทยมาดำเนินการ ตามระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วย การจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ.2535

  14. การขอแปลงสัญชาติเป็นไทย ของคนต่างด้าวซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยตามมาตรา 10แห่ง พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ. 2508 นายอำเภอ/ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ(กรณีมีภูมิลำเนาอยู่ต่างจังหวัด) 1.1/1 สัมภาษณ์จากคณะทำงานสัมภาษณ์ สังเกตพฤติการณ์ และทดสอบความรู้ภาษาไทย ระดับจังหวัด 1.1  ผู้ยื่นคำขอฯ  ผู้อำนวยการสำนักบริหาร การทะเบียน กรมการปกครอง (กรณีมีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพฯ) คณะอนุกรรมการกลั่นกรองการขอแปลงสัญชาติเป็นไทยฯ 1.2  คณะกรรมการกลั่นกรองเกี่ยวกับสัญชาติ ตามมาตรา 25  กรณีเห็นสมควรอนุญาต กระทรวงมหาดไทย กรณีไม่อนุญาต กระทรวงมหาดไทย  เสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยพิจารณา ใช้ดุลพินิจสั่งการ สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง  สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง  เลขาธิการคณะรัฐมนตรี แจ้งผู้ยื่นคำขอฯ ทราบ  กระทรวงมหาดไทย

  15. 9. 10. สำนักงานราชเลขาธิการนำความกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต สำนักงานราชเลขาธิการนำความกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต กระทรวงมหาดไทย (ภายใน 7 วัน) กระทรวงมหาดไทย (ภายใน 7 วัน) 12. 11. สำนักบริหารการทะเบียน แจ้งผู้ได้รับพระบรมราชานุญาต มาทำพิธีปฏิญาณตนว่าจะมีความซื่อสัตย์สุจริตต่อประเทศไทย (มาตรา 12) และจัดทำประกาศกระทรวงมหาดไทย สำนักบริหารการทะเบียน แจ้งผู้ได้รับพระบรมราชานุญาต มาทำพิธีปฏิญาณตนว่าจะมีความซื่อสัตย์สุจริตต่อประเทศไทย (มาตรา 12) และจัดทำประกาศกระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย (ภายใน 15 วัน) 13. 14. กระทรวงมหาดไทย (ภายใน 7 วัน) เสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ลงนามในประกาศกระทรวงมหาดไทย เสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ลงนามในประกาศกระทรวงมหาดไทย 16. 15. เลขาธิการคณะรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลขาธิการคณะรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา กระทรวงมหาดไทย (ภายใน 15 วัน) กระทรวงมหาดไทย (ภายใน 15 วัน) 16.2 16.1 ผู้ว่าราชการจังหวัด/ปลัดกรุงเทพมหานคร (ที่ผู้ขอแปลงสัญชาติไทยมีภูมิลำเนาแล้วแต่กรณี) ผู้ว่าราชการจังหวัด/ปลัดกรุงเทพมหานคร (ที่ผู้ขอแปลงสัญชาติไทยมีภูมิลำเนาแล้วแต่กรณี) สำนักบริหารการทะเบียน - แจ้งผู้ได้สัญชาติไทย ทราบ และสามารถขอรับหนังสือสำคัญ การแปลงสัญชาติเป็นไทยได้ - แจ้งให้ผู้ได้สัญชาติไทยมาดำเนินการตามระเบียบ สำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ.2535

  16. จบการบรรยาย สนใจรายละเอียดเพิ่มเติม สอบถามเบอร์ 0-2223-6740 ส่วนประสานราชการ สำนักกิจการความมั่นคงภายใน

More Related