1 / 14

สนุกกับชนิดของคำไทย ไปกับ อ. พัชรินทร์ พึ่ง เนตร

สนุกกับชนิดของคำไทย ไปกับ อ. พัชรินทร์ พึ่ง เนตร. คำนาม คำสรรพนาม. คำนาม. ความหมายของคำนาม ชนิดของคำนาม หน้าที่ของคำนาม. ความหมายของคำนาม.

foster
Download Presentation

สนุกกับชนิดของคำไทย ไปกับ อ. พัชรินทร์ พึ่ง เนตร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สนุกกับชนิดของคำไทย ไปกับ อ. พัชรินทร์ พึ่งเนตร คำนาม คำสรรพนาม

  2. คำนาม ความหมายของคำนาม ชนิดของคำนาม หน้าที่ของคำนาม

  3. ความหมายของคำนาม คำนาม คือคำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ สภาพ อาการและลักษณะของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตทั้งที่เป็นรูปธรรม ( ไก่ ดอกไม้ บ้าน )และนามธรรม ( ความดี การเขียน การนอน )

  4. ชนิดของคำนาม สามานยนาม วิสามานยนาม ลักษณนาม สมุหนาม อาการนาม

  5. หน้าที่คำนาม ประธานของประโยค กรรมของประโยค ส่วนขยายของคำอื่น ขยายคำกริยา ทำหน้าที่เป็นส่วนเติมเต็ม ทำหน้าที่เรียกขาน

  6. มาทบทวนความรู้กันดีกว่ามาทบทวนความรู้กันดีกว่า ยกตัวอย่างคำนาม นายแพทย์ คนไข้ ครู พยาบาล …... แจกัน โอ่ง จอบ เสียม………. หมี ช้าง เสือ กวาง……... ความดี ความเรียบร้อย การเดิน การวาด…….

  7. ขีดเส้นใต้คำนามกันหน่อยขีดเส้นใต้คำนามกันหน่อย ครูชมเชยนักเรียน ตำรวจจับผู้ร้าย แม่ปรุงอาหาร ชาวนาเกี่ยวข้าว น้องอาบน้ำสุนัข

  8. ตรวจเฉลยคำนาม ครูชมเชยนักเรียน ตำรวจจับผู้ร้าย แม่ปรุงอาหาร ชาวนาเกี่ยวข้าว น้องอาบน้ำสุนัข

  9. คำสรรพนาม ความหมายของคำสรรพนาม ชนิดของคำสรรพนาม หน้าที่คำสรรพนาม

  10. ความหมายของคำสรรพนาม คำสรรพนาม คือคำที่ใช้แทนนามในประโยคสื่อสาร เราใช้คำสรรพนามเพื่อไม่ต้องการกล่าวนามนั้นซ้ำ ๆ

  11. ชนิดของคำสรรพนาม บุรุษสรรพนาม อนิยมสรรพนาม นิยมสรรพนาม ปฤจฉาสรรพนาม วิภาคสรรพนาม ประพันธสรรพนาม

  12. หน้าที่คำสรรพนาม ประธานของประโยค กรรมของประโยค ส่วนขยายของคำอื่น ขยายคำกริยา ทำหน้าที่เป็นส่วนเติมเต็ม ทำหน้าที่เรียกขาน

  13. ขีดเส้นใต้คำสรรพนามกันหน่อยขีดเส้นใต้คำสรรพนามกันหน่อย ฉันเป็นเพื่อนกับเขา นั่นบ้านของเธอ เด็กบ้างเรียนบ้างเล่น ใครส่งเสียงดัง อะไรอะไรก็อร่อย

  14. ขีดเส้นใต้คำสรรพนามกันหน่อยขีดเส้นใต้คำสรรพนามกันหน่อย ฉันเป็นเพื่อนกับเขา นั่นบ้านของเธอ เด็กบ้างเรียนบ้างเล่น ใครส่งเสียงดัง อะไรอะไรก็อร่อย

More Related