290 likes | 467 Views
การพัฒนาทักษะความคิด เพื่อการปรับปรุงงาน. โดย พลตรี เอนก แสงสุก ผู้ทรงคุณวุฒิ กองบัญชาการกองทัพไทย. การพัฒนา : การทำให้เจริญขึ้น ทักษะความคิด : ความชำนาญใน การคิด การปรับปรุงงาน : การทำงานให้ ดีขึ้น รวดเร็วขึ้น เรียบร้อยขึ้น. วิเคราะห์ศัพท์. สรุปชื่อเรื่องเป็น.
E N D
การพัฒนาทักษะความคิดเพื่อการปรับปรุงงานการพัฒนาทักษะความคิดเพื่อการปรับปรุงงาน โดย พลตรี เอนก แสงสุกผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย
การพัฒนา : การทำให้เจริญขึ้น ทักษะความคิด : ความชำนาญในการคิด การปรับปรุงงาน : การทำงานให้ดีขึ้น รวดเร็วขึ้น เรียบร้อยขึ้น วิเคราะห์ศัพท์
สรุปชื่อเรื่องเป็น • การทำให้เกิดความชำนาญในการคิดเพื่อการปรับปรุงงาน
หัวข้อบรรยาย 1. วัตถุประสงค์ในการปรับปรุงงาน 2. การพัฒนาความคิดเพื่อการปรับปรุงงาน 3. การสร้างนิสัยหรือวิธีฝึกให้เป็นคนช่างคิด 4. เทคนิควิธีที่จะช่วยให้เกิดการปรับปรุงงาน 5. การปรับปรุงงาน 6. สรุป
วัตถุประสงค์ในการปรับปรุงงานวัตถุประสงค์ในการปรับปรุงงาน • ความแตกต่างระหว่างภาคเอกชน กับ ภาครัฐ ? • ทำไมต้องปรับปรุงงาน ?
ทำไมบุคลากรภาคเอกชนจึงคิดปรับปรุงงานอยู่เสมอ?ทำไมบุคลากรภาคเอกชนจึงคิดปรับปรุงงานอยู่เสมอ? • เพราะเป็นการแข่งขันนำเสนอสิ่งที่ดีกว่า • เพราะผู้บริโภคชอบอะไรใหม่ ๆ • เพื่อให้ได้กำไรมากขึ้น • พนักงานได้รับแบ่งปันผลกำไรในรูป “โบนัส” • ถ้าไม่พัฒนา อาจถูก เชิญออก ให้ออก ไล่ออก
ทำไมบุคลากรภาคเอกรัฐจึงคิดปรับปรุงงาน หรือดำเนินการปรับปรุงงานได้น้อยกว่าภาคเอกชน? • เพราะเป็นงานบริการ ไม่หากำไร ไม่มีการแข่งขัน • ผลที่ได้รับเป็นเพียง “ความพอใจ” ไม่ใช่ “ผลกำไร” • พนักงานกินเงินเดือน ไม่มีโบนัส • ถ้าไม่พัฒนาก็ไม่ถูกไล่ออก จะถูกให้ออก ไล่ออก เมื่อผิดวินัยร้ายแรง • ได้งบประมาณน้อย ก็พัฒนาได้น้อย
ทำไมจึงต้องปรับปรุงงาน?ทำไมจึงต้องปรับปรุงงาน? • เพื่อให้งานดีขึ้น เร็วขึ้น สะดวกขึ้น มากขึ้นมีประสิทธิภาพขึ้น • เพื่อให้ได้ผลกำไรมากขึ้น ผลงานมากขึ้น • เพื่อให้ได้รับความสนใจ พอใจ จากผู้บริโภคหรือผู้ใช้บริการ มากขึ้น • เพื่อลดต้นทุน ลดขั้นตอน • เพื่อช่วยพัฒนาองค์กร และประเทศชาติ
การพัฒนาความคิดเพื่อการปรับปรุงงานการพัฒนาความคิดเพื่อการปรับปรุงงาน • ต้องพัฒนาความคิดของ1. ตัวเอง2. หัวหน้าหน่วยรอง หรือลูกน้อง
การพัฒนาความคิดของตัวเองการพัฒนาความคิดของตัวเอง • จะปรับปรุงงาน ต้อง ปรับปรุงตัวเองก่อน มิฉะนั้นจะไม่ได้รับ“ความร่วมมือ – ร่วมใจ” อาจได้แต่“ความร่วมมือ” ไม่ได้ “ความร่วมใจ”
การปรับปรุงตัวเองต้องเริ่มที่ใจการปรับปรุงตัวเองต้องเริ่มที่ใจ • ตั้งใจที่จะคิด ที่จะริเริ่ม • ตั้งใจจะไม่ทำงานแบบตั้งรับ • ตั้งใจจะทำงานเชิงรุก • ตั้งใจจะริเริ่มพัฒนาไม่หยุดนิ่ง • ตั้งใจจะสู้ไม่ถอย • จะเป็น “คนแก่ความรู้ ใช่อยู่นาน” • จะไม่ “ทำอาหารตามสั่ง” • จะยอมรับฟังความคิดของผู้อื่น
ต้องปรับทัศนติตัวเองและลูกน้อง ต้องปรับทัศนติตัวเองและลูกน้อง • ไม่คิดว่า ยิ่งริเริ่ม ยิ่งเพิ่มงาน ยิ่งเหนื่อย • เลิกพูดว่า “เรื่องที่แล้ว ครั้งที่แล้ว ปีที่แล้วเขาก็ทำกันมายังงี้” • ไม่คิดว่า จะเกษียณแล้ว ไม่เอาอะไรแล้ว • เปิดใจรับความคิดใหม่ของคนใหม่
เปิดใจรับความคิดใหม่ของคนใหม่ไม่ถือตนว่าอยู่มาก่อนเปิดใจรับความคิดใหม่ของคนใหม่ไม่ถือตนว่าอยู่มาก่อน • ไม่ปล่อยให้นายคิดคนเดียว ทุกคนมีส่วนร่วม • คิดว่า การปรับปรุงงาน อาจทำให้ ลดเวลา ลดขั้นตอน ได้ • คิดว่า การปรับปรุงงาน จะทำให้การบริการ ดีขึ้น มากขึ้น เร็วขึ้น
เมื่อ “ทำใจ” และ “ปรับทัศนคติ” ได้แล้วจึงเริ่ม “พัฒนาความคิด” ที่จะ “ปรับปรุงงาน”
วิธีที่ 1 โดยการ “ตั้งใจว่า” • จะทำวันนี้ให้ดีกว่าวันก่อน • จะทำงานนี้ให้ดีกว่างานที่แล้ว • จะทำเรื่องนี้ให้ดีกว่าเรื่องที่แล้ว
วิธีที่ 2 โดยการ “ตั้งคำถามว่า” • งานในหน้าที่ ทำครบถ้วน ถูกต้องรวดเร็ว ไม่ผิดพลาด แล้วหรือยัง? • วิธีทำให้เร็ว มาก สะดวก สมบูรณ์กว่านี้ มีหรือไม่? • จะทำอย่างไร เพื่อให้บริการลูกค้า ได้มาก สะดวก เร็ว กว่านี้อีก • หน่วยงานอื่น เขาทำอย่างไร
วิธีที่ 3 “ใช้หลักอริยสัจสี่” • ทุกข์ : ปัญหา (ข้อขัดข้อง) • เหตุเกิดทุกข์ : ข้อเท็จจริง (สาเหตุ) • ทางสู่ความดับทุกข์ : ข้อพิจารณา (ทางแก้ข้อขัดข้อง) • วิธีการพ้นทุกข์ : ข้อเสนอ (ทางแก้ที่ดีที่สุด)
สำรวจตัวเองหรือหน่วยว่าทำงานเต็มที่ เต็มเวลา หรือยัง • พิจารณา : คน เครื่องมือ พอหรือไม่ ดีหรือไม่ แก้ไขให้ตรงจุด • คนไม่พอ : ขอเพิ่ม บรรจุ จ้าง ช่วยงาน • คนไม่มีประสิทธภาพ : ตักเตือน ฝึกสอน สัปเปลี่ยนหน้าที่ ย้าย ส่งคืน • เครื่องมือ : ไม่พอ-ขอเพิ่ม เก่า-ขอใหม่ใช้เครื่องมือแทนคน
วิธีอื่น ๆ • ดูตัวอย่างความคิดของคนอื่น • คุยกับหน่วยอื่น ขอดูงาน นำมาใช้ • พยายามคิดใช้เทคโนโลยีแทนคน • สังเกตการคิดของ ผบช. บุคคลสำคัญ • ถ้ามีความคิดใหม่ ก็แก้ระเบียบได้ • ใช้การระดมความคิด • คิดทำงานเชิงรุก • คิดวาดลำดับงานตั้งแต่ต้นจนจบ
การพัฒนาความคิดของหน.หน่วยรอง หรือลูกน้อง • ถามความเห็น หารือ สั่งให้ไปคิดมา • สั่งงานแบบมอบภารกิจ • มอบความรับผิดชอบ เพื่อฝึกให้คิด • ไม่โยนความรับผิดชอบ • ไม่แย่งลูกน้องคิดทั้งหมด • ไม่รอฟังแต่ความคิดของนาย • เปิดโอกาสให้ลูกน้องแสดงความคิดเห็น • สนใจฟัง ให้กำลังใจ เมื่อลูกน้องเสนอความคิดเห็น
วิธีฝึกให้เป็นคนช่างคิดวิธีฝึกให้เป็นคนช่างคิด • ฝึกคิดจากเรื่องในชีวิตประจำวัน • ดูทีวี หนังสือพิมพ์ แล้วคิดตาม • เห็นใครทำอะไร คิดว่า ถ้าเป็นเราจะทำอย่างไร • แสดงความเห็นในอินเตอร์เน็ตดูบ้าง
เทคนิควิธีที่จะช่วยให้เกิดการปรับปรุงงานเทคนิควิธีที่จะช่วยให้เกิดการปรับปรุงงาน • ศึกษาเรื่องที่เคยทำมาแล้ว คิดปรับปรุง แก้ไขข้อขัดข้อง • กำหนดให้รายงานผลดำเนินการ พร้อมปัญหาข้อขัดข้อง – ข้อเสนอ • นำปัญหานั้นมาพิจารณา ก่อนทำปีนี้ • ทำแฟ้มบันทึกเรื่องที่ ผบช. ตำหนิ • ทำแฟ้มบันทึก “นโยบาย” แล้วพยายามทำตามนั้น • “การเตรียมการ” “การซักซ้อม” ก่อนวันจริง จะทำให้เห็น “ข้อขัดข้อง” และ “ปรับปรุงงาน” ก่อนวันจริงได้ • จัดทำแฟ้มคำแนะนำในการปฏิบัติงานในหน้าที่/ภารกิจ
การปรับปรุงงาน 1. ลดขั้นตอน 2. รวมงานลักษณะเดียวกัน 3. บริการจุดเดียว 4. กระจายการบริการ 5. ระดมทรัพยากร 6. ใช้สายการบังคับบัญชา
7. ใช้เทคโนโลยี 8. ทำงานได้โดยต่อเนื่อง 9. จัดระบบจัดระเบียบ 10. รับฟังความคิดเห็น
สรุป • การพัฒนาทักษะความคิดเพื่อการปรับปรุงงานต้องเริ่มที่ใจ ทำใจ เปิดใจ ตั้งใจ • ต้องปรับทัศนคติของ ตัวเอง และลูกน้อง • ต้องพัฒนาทักษะความคิดทั้งของ ตัวเอง ลูกน้อง
ตั้งคำถามว่างานในหน้าที่ ทำครบถ้วน ถูกต้อง รวดเร็วหรือยัง วิธีทำให้ดีกว่านี้มีไหม จะทำอย่างไรเพื่อให้การบริการลูกค้า ดียิ่งขึ้น หน่วยงานอื่นเขาทำอย่างไร
จบแล้วครับ ดื่มกาแฟกัน
กิจกรรมกลุ่ม • ให้แต่ละกลุ่มระดมความคิดเพื่อนำเสนอแนวทางการปรับปรุงงานของหน่วยงานของท่าน • ใช้เวลาระดมความคิด 30นาที • ใช้เวลานำเสนอกลุ่มละไม่เกิน 5นาที