1 / 25

1. สถานการณ์ด้านการข่าว และสถิติการจับกุม 2. การจัดกำลังปฏิบัติงาน

หัวชี้แจง กกล.สุรนารี. 1. สถานการณ์ด้านการข่าว และสถิติการจับกุม 2. การจัดกำลังปฏิบัติงาน 3. ปัญหาข้อขัดข้อง และข้อเสนอแนะ 4. งบประมาณ. 13. 13. 13. 13. ขอนแก่น. อ.ชานุมาน. 13. มหาสารคาม. ร้อยเอ็ด. ม.ละครเพ็ง. อ.เขมราฐ. อำนาจเจริญ. กิ่ง อ.นาตาล. 13. ยะโสธร. อ.โพธิไทร.

Download Presentation

1. สถานการณ์ด้านการข่าว และสถิติการจับกุม 2. การจัดกำลังปฏิบัติงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หัวชี้แจง กกล.สุรนารี 1. สถานการณ์ด้านการข่าว และสถิติการจับกุม 2. การจัดกำลังปฏิบัติงาน 3. ปัญหาข้อขัดข้อง และข้อเสนอแนะ 4. งบประมาณ

  2. 13 13 13 13 ขอนแก่น อ.ชานุมาน 13 มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ม.ละครเพ็ง อ.เขมราฐ อำนาจเจริญ กิ่ง อ.นาตาล 13 ยะโสธร อ.โพธิไทร ม.ชนะสมบูรณ์ อ.ศรีเมืองใหม่ 13 อ.โขงเจียม อุบลราชธานี อ.สิรินธร ศรีสะเกษ ม.ปากเซ ช่องเม็ก บุรีรัมย์ สุรินทร์ อ.บุณฑริก ช่องตาอู พื้นที่ตรวจพบส่วนใหญ่เป็นท่าข้าม อ.เขมราฐ, อ.โขงเจียม, อ.สิรินธร ถาวรช่องเม็ก อ.สิรินธรฯ และจุดผ่อนปรนช่องตาอู อ.บุณฑริก จว.อ.บ. 68 บ.สะแอม 69 69 บันเตียอำปึล อ.จอมกระสาน อ.อัลลองเวง 69 อ.สำโรง 67 68 อ.กูเลน

  3. การลักลอบหลบหนีเข้าเมือง ด้าน กพช. • ส่วนใหญ่ เพื่อขายแรงงานที่ กทม. • รับจ้างขายแรงงานในพื้นที่ระยะสั้น ๆ ในห้วงฤดูกาลเพาะปลูก • ใช้ช่องทางจุดผ่านแดน • หรือที่ใกล้ชุมชนที่ผ่อนผันให้มีการค้าขาย แลกเปลี่ยนสินค้า

  4. ด่านตรวจ บ.หนองเสม็ด จุดานแดนถาวรช่องจอม อ.ตาพระยา

  5. สถิติการตรวจพบ/จับกุมผู้ลักลอบหลบหนีเข้าเมือง : ห้วง 1 ต.ค.47 – 30 ก.ย.48 ตรวจพบและจับกุมการกระทำผิด พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522 สถิติการตรวจพบ/จับกุมผู้ลักลอบหลบหนีเข้าเมือง : ในห้วง 1 ต.ค.47 – 30 ก.ย.48 -ตรวจพบและจับกุมการกระทำผิด พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522

  6. ตรวจพบและอำนวยความสะดวกในการเดินทางกลับประเทศตรวจพบและอำนวยความสะดวกในการเดินทางกลับประเทศ ห้วง 1 ต.ค.47 – 30 ก.ย.48 -ตรวจพบและอำนวยความสะดวกในการเดินทางกลับประเทศ

  7. ข้อพิจารณาและแนวโน้ม - เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาจำนวนลดลง - คาดว่าจะยังคงมีอยู่ และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น

  8. การจัดกำลังปฏิบัติงานการจัดกำลังปฏิบัติงาน • ใช้กำลังแผนงานป้องกันชายแดน เป็นหลัก จำนวน 52 ชุด • พื้นที่เพ่งเล็ง ช่องทาง ท่าข้าม จุดผ่านแดน ข่ายเส้นทางสำคัญ • - ตั้งจุดตรวจ จุดสกัดกั้น ครอบคลุมพื้นที่รับผิดชอบ 80 จุด

  9. ประเด็นปัญหา ด้านไทย - สปป.ลาว 3 รูปแบบ 1 ความคุ้นเคยเครือญาติฝั่งไทย หรือทำงานขายบริการในร้านอาหาร 2 กลุ่มขบวนการนำพาเข้าไปทำงานในพื้นที่ตอนใน เสียค่านำพา 2,500 - 3,000 บาท/คน 3 ลักลอบเข้ามาเพื่อแสวงโชค มีจำนวนน้อย

  10. ช่องทางธรรมชาติ 72 ช่องทาง ท่าข้ามทางธรรมชาติ 43 ท่าข้าม จุดผ่านแดนถาวร 2 แห่ง จุดผ่อนปรณเพื่อการค้า 5 แห่ง ลักษณะภูมิประเทศชายแดน ด้าน สปป.ลาว

  11. หนังสือ ( Border Pass ) • - ผ่านเข้า – ออก มาอาศัยในตัวเมือง จว.อ.บ.ได้คราวละ 3 วัน • บัตรผ่านแดนชั่วคราว ที่ออกให้โดย ตม.ลาว และไทย • เป็นแบบเช้าไป – เย็นกลับ แล้วลักลอบเข้าพื้นที่ตอนใน

  12. ปัจจัยข้อตกลงระหว่างเจ้าแขวงของลาวกับ ผู้ว่าราชการจังหวัด ที่ราษฎรลาวใช้ Border Pass เข้ามาพักได้ถึงตัวจังหวัดได้ 3 วัน 2 คืน โดยไม่มีมาตรการควบคุมที่รัดกุมดีพอ

  13. บทกำหนดโทษตาม พ.ร.บ. คนเข้าเมือง พ.ศ.2522 - มาตรา 63 ลงโทษผู้นำพาสูงสุด ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 10 ปี และปรไม่เกิน 100,000 บาท มาตรา 64 ลงโทษผู้ให้ที่พักพิงสูงสุด ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 50,000 บาท

  14. ปัญหาและอุปสรรค ด้าน สปป.ลาว * การปฏิบัติขัดแย้ง กับกฎหมายที่ ตม. เช่น การจัดระเบียบจุดจอดเรือ ไม่มีข่องทาง / กลไก ประสานงาน ระหว่าง กกล.สุรนารี กับเจ้าแขวงของลาว * การทำข้อตกลงระหว่าง ผวจ. กับเจ้าแขวงของลาว มุ่งเน้นด้านเศรษฐกิจ * กระทำเป็นขบวนการ เจ้าหน้าที่ รัฐมีส่วนร่วม 1) การละเว้นการตรวจตราสถานบริการตามแนวชายแดน ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2) ไม่มีการติดตามขยายผลจากการจับกุมกลุ่มขบวนการให้ถึงที่สุด 3) ความร่วมมือติดต่อประสานงาน ประสานข้อมูล ระหว่างหน่วยงานมีน้อย

  15. ชายแดนด้านไทย - กพช. - ชาว กพช. มีการลักลอบเข้ามาหางานทำในฝั่งไทย 3 รูปแบบ คือ 1 การชักชวนจากราษฎรไทยตามแนวชายแดน จึงลักลอบเข้ามารับจ้างตามชายแดน โดยเฉพาะในฤดูเพาะปลูก และฤดูเก็บเกี่ยวผลผลิต 2 เข้ามาขายแรงงานในอำเภอตอนใน ลักลอบเข้ามาอาศัยอยู่ด้วย และบางราย เข้ามาเพื่อจารกรรมทรัพย์สินแล้วลักลอบนำเข้าฝั่ง กพช. 3 ลักลอบเข้ามาเองเพื่อแสวงโชค

  16. ช่องทางธรรมชาติ 71 ช่องทาง จุดผ่านแดนถาวร 2 แห่ง จุดผ่อนปรณเพื่อการค้า 1 แห่ง จุดผ่อนปรณเพื่อท่องเที่ยว 1 แห่ง ลักษณะภูมิประเทศชายแดน ด้าน กพช.

  17. การลักลอบหลบหนีเข้าเมือง กพช. ใช้หนังสือเดินทาง ( Passport ), หนังสือผ่านแดน ( Border Pass ) หนังสือผ่านแดนชั่วคราว ( Temporary Border Pass ) และใช้บัตรแบบมาเช้า - เย็นกลับ (ราคา 10 บาท) ซึ่งออกให้โดย ตม.กพช. ในการผ่านแดน ผ่านเข้ามาทางจุดผ่านแดนถาวร หรือจุดผ่อนปรนเพื่อการค้า

  18. งบประมาณ • ปี 2548 กกล.สุรนารี ได้รับอนุมัติสนับสนุนงบ จำนวน 1,500,000 บาท • ปัญหาได้รับการสั่งจ่ายล่าช้าเมื่อปลาย ส.ค.48 ไม่สอดคล้องกับห้วงเวลาปฏิบัติ • ปี 2549 ได้เสนอของบประมาณเช่นเดียวกับปี 2548 (1.5 ล้านบาท) ผ่านตาม • สายการบังคับบัญชา ศปก.ทภ.2 และ ศปก.ทบ. เรียบร้อยแล้ว • ปีงบประมาณ 2549 หน่วยเหนือควรพิจารณาและเร่งรัดการสนับสนุน • งบประมาณ ในห้วงต้นปีงบประมาณ

  19. ปัญหาข้อขัดข้องด้านยุทธการที่สำคัญต่อการสกัดกั้นแรงงานต่างด้าวปัญหาข้อขัดข้องด้านยุทธการที่สำคัญต่อการสกัดกั้นแรงงานต่างด้าว ของ กกล.สุรนารี การจัดกำลัง-เตรียมเพื่อการป้องกันชายแดน ปัจจุบัน รับภารกิจในหลายลักษณะ ไม่สอดคล้องกับปัญหาเงื่อนไขที่เกิดขึ้น - ด้าน สปป.ลาว ชุมชนติดชายแดน ยากต่อการตรวจค้น การบังคับ ใช้กฎหมายไม่ทันท้วงที การจับกุม • ด้าน กัมพูชา ชุมชนชายแดน จัดเป็นระบบ และอยู่ในเขตพื้นที • ประกาศกฎอัยการศึก ง่ายต่อการปฏิบัติ ผู้ปฏิบัติมีหลายส่วน หน่วยไม่ได้รับการฝึกทางเทคนิค จาก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและมีประสบการณ์ เทคนิคการปฏิบัติ

More Related