1 / 75

การบริหารความเสี่ยง จากการบริหารงานพัสดุ

การบริหารความเสี่ยง จากการบริหารงานพัสดุ. หน้าที่ความรับผิดชอบ.

Download Presentation

การบริหารความเสี่ยง จากการบริหารงานพัสดุ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารความเสี่ยงจากการบริหารงานพัสดุการบริหารความเสี่ยงจากการบริหารงานพัสดุ

  2. หน้าที่ความรับผิดชอบ • พัฒนาระบบบริหารการคลัง2. กำหนดกฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ด้านการเงิน การคลัง การพัสดุ การตราวจสอบภายใน3. กำหนดนโยบายและมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ4. กำหนดนโยบายและมาตรฐานการตรวจสอบภายใน5. ประเมินผลด้านการคลังภาครัฐ6. การเบิกจ่ายเงิน การนยำเงินส่ง การก่อหนี้ผูกพัน การถอนคืนเงินรายได้7. บริหารเงินคงคลัง และเงินนอกงบประมาณ8. พัฒนามาตรฐานค่าตอบแทน สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ • 9. พัฒนาระบบบริหารการคลังภาครัฐ • 10. กำหนดมาตรฐานการบัญชีภาครัฐ • 11. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่และความรับผิดทางแพ่ง • 12. บริหารงานบุคคลลูกจ้าง • 13. พัฒนาบุคลลากรด้านการเงิน กาคลัง การพัสดุ การบัญชีและการตรวจสอบภายใน • 14. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย

  3. สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐสำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ หน้าที่ความรับผิดชอบ 1. กำกับดูแลและบริหารจัดการด้านการพัสดุภาครัฐ2. ดำเนินการเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการพัสดุภาครัฐ3. กำหนดนโยบายและแนวทางการพัฒนาระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ4. กำหนดมาตรฐาน แนวทาง และหลักเกณฑ์การกำหนดราคากลางงานก่อสร้าง 5. ศึกษา พิจารณา และกำหนดมาตรการเพื่อป้องกันการสมยอมกันในการเสนอราคาและการผูกขาดทางการค้าในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ6. ดำเนินการเกี่ยวกับการขอทำความตกลงในการบริหารงานด้านการพัสดุของส่วนราชการ ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง และมติคณะรัฐมนตรี หรือที่ได้รับอนุมัติจากกระทรวง7. จัดทำฐานข้อมูลด้านการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของประเทศ8. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย

  4. ขอบเขตการนำเสนอ • สรุปสาระสำคัญของระเบียบพัสดุ • กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง • ความเสี่ยงในการบริหารงานพัสดุ • กรณีศึกษา

  5. การบริหารงานพัสดุ

  6. ระบบการเงินการคลังของหน่วยงานระบบการเงินการคลังของหน่วยงาน พัสดุ งบประมาณ บัญชี การเงิน สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  7. กระบวนการบริหารงานพัสดุกระบวนการบริหารงานพัสดุ งานประจำ กำหนดความต้องการ งานโครงการ งบประมาณ จัดทำแผน จัดหาพัสดุ เบิกจ่ายเงิน การบริหารสัญญา การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  8. ระเบียบว่าด้วยการพัสดุระเบียบว่าด้วยการพัสดุ • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 7 พ.ศ. 2552 • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549

  9. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 7 พ.ศ. 2552 • เป็นระเบียบที่กำหนดวิธี • การจัดหา • การจัดการ • เป็นระเบียบที่มุ่งเน้น • วิธีการดำเนินการ • การเปิดเผย ความโปร่งใส • การแข่งขันอย่างเป็นธรรม

  10. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 7 พ.ศ. 2552 • ใช้บังคับ • ส่วนราชการ + การพัสดุ + เงิน • - งบประมาณ - กู้ • - ช่วยเหลือ • การจัดทำเอง การซื้อ การจ้าง • การจ้างที่ปรึกษา • การจ้างออกแบบและควบคุมงาน • การแลกเปลี่ยน การเช่า การควบคุม • การจำหน่าย และการดำเนินการอื่น ๆ

  11. การควบคุมและจำหน่ายพัสดุการควบคุมและจำหน่ายพัสดุ บทเฉพาะกาล • การยืม • การควบคุม • การจำหน่าย การจัดหา • ทั่วไป • การซื้อการจ้าง • การจ้างที่ปรึกษา • การจ้างออกแบบและควบคุมงาน • การแลกเปลี่ยน • การเช่า • สัญญาและหลักประกัน • การลงโทษผู้ทิ้งงาน ความทั่วไป • นิยาม • การใช้บังคับและ • การมอบอำนาจ • บทลงโทษ • กวพ. โครงสร้างระเบียบ ว่าด้วย การพัสดุ 2535

  12. ผังการจัดหา ตรวจสอบงบประมาณ / ยื่นคำขอให้จัดหา 1. ผู้ขอให้จัดหา รายงาน 2. เจ้าหน้าที่พัสดุ ไม่เห็นชอบ ยกเลิก / ดำเนินการใหม่ เห็นชอบ 3. หน.ส่วนราชการ 4. เจ้าหน้าที่พัสดุ /คณะกรรมการ ดำเนินการจัดหา ไม่อนุมัติ อนุมัติ สั่งซื้อสั่งจ้าง 5. หน.พัสดุ / หน.ส่วนราชการ ปลัดกระทรวง / รมว. อนุมัติ แก้ไข เลิกสัญญา งด ลดค่าปรับ ขยายสัญญา 6. หน.ส่วนราชการ จัดทำสัญญา ตรวจรับ 7. ผู้ตรวจรับ /คณะกรรมการ การบริหารสัญญา คืนแก้ไข ให้ถูกต้อง 8. หน.ส่วนราชการ เห็นชอบ ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง 9. เจ้าหน้าที่การเงิน เบิกจ่ายเงิน ไม่จ่ายเงิน

  13. วิธีตกลงราคา 1. จนท.พัสดุ ติดต่อผู้ขาย/ผู้รับจ้าง รายงานผลการพิจารณา ไม่อนุมัติ สั่งซื้อสั่งจ้าง 2. หน.จนท.พัสดุ อนุมัติ แจ้งให้ผู้ขาย / ผู้รับจ้าง มาจัดทำสัญญา 3. จนท.พัสดุ

  14. 1. จนท.พัสดุ วิธีสอบราคา ประกาศเผยแพร่เอกสาร 2. จนท. รับซองใบเสนอราคา 3. หน.จนท.พัสดุ เก็บรักษาซอง ส่งมอบ 4. คกก.เปิดซองสอบราคา พิจารณาและรายงานผล ไม่อนุมัติ สั่งซื้อสั่งจ้าง 5. หน.ส่วนราชการ อนุมัติ แจ้งผู้ขายผู้รับจ้าง มาจัดทำสัญญา 6. จนท.พัสดุ

  15. วิธีประกวดราคา 1. จนท.พัสดุ ประกาศเผยแพร่เอกสาร 2. คกก.รับซอง รับและเปิดซอง พิจารณาและรายงานผล 3. คกก. พิจารณาผล 4. หน.ส่วนราชการ - ปลัดกระทรวง - รมว. ไม่อนุมัติ สั่งซื้อสั่งจ้าง อนุมัติ แจ้งผู้ขายผู้รับจ้าง มาจัดทำสัญญา 5. จนท.พัสดุ

  16. วิธีพิเศษ 1. คกก. ติดต่อผู้ขาย/ผู้รับจ้าง รายงานผลการพิจารณา ไม่อนุมัติ • 2. หน.ส่วนราชการ • ปลัดกระทรวง • รมว. สั่งซื้อสั่งจ้าง อนุมัติ แจ้งให้ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง มาจัดทำสัญญา 3.จนท.พัสดุ

  17. วิธีกรณีพิเศษ 1. จนท.พัสดุ ติดต่อผู้ขาย/ผู้รับจ้าง รายงานผลการพิจารณา ไม่อนุมัติ สั่งซื้อสั่งจ้าง 2.หน.ส่วนราชการ อนุมัติ แจ้งให้ผู้ขาย / ผู้รับจ้าง มาจัดทำสัญญา 3. จนท.พัสดุ

  18. การจัดทำสัญญาและบริหารสัญญาการจัดทำสัญญาและบริหารสัญญา 1. จนท.พัสดุ รวบรวมเอกสาร แก้ไข งด ลดค่าปรับ ขยายสัญญา บอกเลิกสัญญา 2.หน.ส่วนราชการ จัดทำสัญญา 3. ผู้ตรวจรับ /คณะกรรมการ ตรวจรับ การบริหารสัญญา คืนแก้ไข ให้ถูกต้อง 4. จนท.การเงิน เบิกจ่ายเงิน ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง

  19. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 • กำหนดวิธีการจัดหา • มุ่งเน้น • การเปิดเผย • ความโปร่งใส • การเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม

  20. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 • การจัดหาพัสดุที่กิจกรรมโครงการ หรือการก่อสร้างมูลค่าตั้งแต่ • สองล้านบาท ขึ้นไป • ใช้บังคับ • ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชนและหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในสังกัด การบังคับบัญชาหรือการกำกับดูแลของฝ่ายบริหารตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินหรือกฎหมายจัดตั้งหน่วยงานดังกล่าว ไม่ใช้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

  21. บทเฉพาะกาล มาตรการรักษาความเป็นธรรม • - นัดหมาย • ส่งผู้แทนเสนอราคา • กระบวนการเสนอราคา • พิจารณาราคา • อุทธรณ์ การเสนอราคา การยื่นข้อเสนอทางเทคนิค • ยื่นซอง • รับซอง • คัดเลือกผู้มีสิทธิ การเตรียมการ คณะกรรมการ • - ตั้ง คกก. TOR • เผยแพร่ TOR • แต่งตั้ง คกก.ประกวดราคา • ประกาศประกวดราคา • กวพ.อ • คกก. TOR. • คกก.ประกวดราคา • 1 ก.พ. 2549 • หน่วยงานภาครัฐ • เงิน 2 ล้านบาทขึ้นไป • ควบกับระเบียบพัสดุ ความหมาย • การจัดหาพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ • ราคาสูงสุด การบังคับใช้ โครงสร้างระเบียบ auction พ.ศ. 2549

  22. 1. ตรวจสอบเงิน / แผนจัดหา 17 ขั้นตอน auction 2. แต่งตั้ง คกก. จัดทำ TOR 3. เผยแพร่ TOR *** 6. ประกาศเชิญชวน *** 7. รับซองข้อเสนอทางเทคนิค 4 แต่งตั้ง คกก.ประกวดราคา คัดเลือกตลาดกลาง กำหนดวันเวลาสถานที่ 8. พิจารณาคัดเลือกเบื้องต้น 9. แจ้งผลการคัดเลือกเบื้องต้น *** 10. อุทธรณ์ผลการคัดเลือก 11. แจ้งนัดหมาย *** 5. รายงานขอซื้อขอจ้าง 12. กำหนดราคาเริ่มต้น 13. กระบวนการเสนอราคา 14. พิจารณาผลการเสนอราคา 17. การจัดทำสัญญา 15. การสั่งซื้อสั่งจ้าง การบริหารสัญญา ตรวจรับ แก้ไขสัญญา ขยาย งด ลดค่าปรับ บอกเลิกสัญญา 16. อุทธรณ์ผลการพิจารณาราคา

  23. หลักการบริหารพัสดุ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  24. ผู้มีผลประโยชน์ร่วมกันผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน

  25. โครงการปรับปรุงห้องประชุม จำนวน 3 ห้อง วงเงิน 5.7 ล้านบาท โครงการที่ 1 : วงเงิน 1.9 ล้านบาท บริษัท A : มี ก และ ข เป็นผู้บริหาร ให้ ข เสนอราคา บริษัท B : มี ค และ ง เป็นผู้บริหาร ให้ ค เสนอราคา บริษัท C : มี ง และ จ เป็นผู้บริหาร ให้ จ เสนอราคา ยื่น เสนอ ราคา ใน วัน เวลา สถานที่ เดียวกัน โครงการที่ 2 : วงเงิน 1.9 ล้านบาท บริษัท D : มี ก และ ข เป็นผู้บริหาร ให้ ก เสนอราคา บริษัท B : มี ค และ ง เป็นผู้บริหาร ให้ ค เสนอราคา บริษัท C : มี ง และ จ เป็นผู้บริหาร ให้ จ เสนอราคา โครงการที่ 3 : วงเงิน 1.9 ล้านบาท บริษัท B : มี ค และ ง เป็นผู้บริหาร ให้ ค เสนอราคา บริษัท A : มี ก และ ข เป็นผู้บริหาร ให้ ข เสนอราคา บริษัท D : มี ก และ ข เป็นผู้บริหาร ให้ ก เสนอราคา

  26. หลักการจัดหาพัสดุ • ความคุ้มค่าในการใช้จ่ายเงิน (Value for Money) • ความโปร่งใส (Transparency) • ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency and Effectiveness) • ความรับผิดชอบต่อผลสำเร็จของงาน (Accountability)

  27. การจัดหาพัสดุ • ต้องคำนึงถึง - คุณสมบัติที่ดีของ * พัสดุ * ผู้ค้า - จำนวนเหมาะสม - ราคายุติธรรม - การใช้งานทันต่อเวลา

  28. แนวทางปฏิบัติ กวพ. การจัดหาพัสดุจะต้องดำเนินการตามขั้นตอนของระเบียบจนได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจแล้ว จึงไปทำสัญญาหรือข้อตกลง การจัดหาพัสดุหากไม่ปฏิบัติหรือไม่ดำเนินการตามขั้นตอนของระเบียบ ผู้มีอำนาจสั่งให้ปฏิบัติตามหรือดำเนินการ ตามระเบียบได้ ถึงแม้จะได้ดำเนินการเสนอราคาไปแล้วก็ตาม ต้องมีการบันทึกหลักฐานในการดำเนินการ พร้อมทั้งเหตุผลในการพิจารณาสั่งการในขั้นตอนที่สำคัญไว้เพื่อประกอบการพิจารณา

  29. หลักการจัดหาพัสดุ • เปิดเผย • โปร่งใส • เปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม • ห้ามก่อนิติสัมพันธ์กับผู้ทิ้งงาน • คำนึงถึงคุณสมบัติและความสามารถของผู้เสนอราคาหรือผู้เสนองาน • เว้นแต่กรณีที่มีลักษณะเป็นการเฉพาะอันเป็นการยกเว้นที่กำหนดไว้ในระเบียบ ห้ามแบ่งซื้อแบ่งจ้าง

  30. การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง ข้อ ๒๒ วรรคสอง การแบ่งซื้อหรือแบ่งจ้างโดยลดวงเงินที่จะซื้อหรือจ้างในครั้งเดียวกันเพื่อให้วงเงินต่ำกว่าที่กำหนดโดยวิธีหนึ่งวิธีใดหรือเพื่อให้อำนาจสั่งซื้อสั่งจ้างเปลี่ยนไปจะกระทำมิได้

  31. การจัดหาพัสดุ • ห้ามมิให้กระทำการแบ่งซื้อแบ่งจ้าง • หลักเกณฑ์ • ลดวงเงินที่จะซื้อหรือจ้างในครั้งเดียวกันเพื่อ • ให้วงเงินต่ำกว่าที่กำหนด • ให้อำนาจสั่งซื้อสั่งจ้างเปลี่ยนไป

  32. แนวทางการพิจารณาเรื่องแบ่งซื้อแบ่งจ้างแนวทางการพิจารณาเรื่องแบ่งซื้อแบ่งจ้าง • วงเงินที่ได้รับมาพร้อมกันหรือไม่ • พัสดุที่จะจัดหาเป็นประเภทเดียวกันหรือไม่ • พิจารณาจากความต้องการของผู้ใช้พัสดุว่าต้องการใช้พร้อมกันหรือไม่

  33. การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง • การจัดซื้อพัสดุประเภทชนิดเดียวกัน แม้ต่างขนาดและราคา เมื่อมีการประมาณการความต้องการในการใช้งานของทั้งปีแล้ว จะต้องจัดซื้อรวมในครั้งเดียวกัน เว้นแต่มีเหตุผลที่ชัดเจนที่จำเป็นต้องแยกซื้อที่ไม่ใช่เป็นการแบ่งซื้อแบ่งจ้าง เพื่อประโยชน์ในการบริหารการพัสดุ จะต้องกำหนดเงื่อนไขในการดำเนินการจัดซื้อโดยใช้สัญญาจะซื้อจะขายแบบราคาคงที่ไม่จำกัดปริมาณ เพื่อออกใบสั่งซื้อเป็นคราว ๆให้สอดคล้องกับการใช้งานจริง

  34. ความเห็น กวพ. • กรณีที่ส่วนราชการได้รับการจัดสรรเงินงบประมาณ ค่าซ่อมแซมถนน โดยจำแนกเป็นรายถนน ถือว่า เงินงบประมาณค่าซ่อมแซมของแต่ละถนน แยกออกจากกัน การดำเนินการจัดจ้างซ่อมแซมถนนจึง สามารถเลือกกระทำได้ในลักษณะหนึ่งลักษณะใดดังนี้ • เป็นรายครั้ง ๆ ละถนน • เป็นรายครั้ง ๆ ละกลุ่มถนน • เป็นรายครั้ง ๆ ละหลายกลุ่มถนน • ครั้งเดียวกันทุกถนน

  35. ความเห็น กวพ. • กรณีที่ส่วนราชการได้รับการจัดสรรเงินงบประมาณค่าก่อสร้างอาคาร โดยจำแนกเป็นอาคาร ถือว่า เงินงบประมาณค่าก่อสร้างอาคารของแต่ละอาคารแยกออกจากกัน การดำเนินการจัดจ้างก่อสร้างอาคาร สามารถดำเนินการได้ในลักษณะหนึ่งลักษณะใดดังนี้ • เป็นรายครั้ง ๆ ละอาคาร • เป็นรายครั้ง ๆ ละกลุ่มอาคาร • เป็นรายครั้ง ๆ ละหลายกลุ่มอาคาร • ครั้งเดียวกันทุกอาคาร

  36. กฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับการบริหารงานพัสดุกฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับการบริหารงานพัสดุ

  37. กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ • การจัดทำคำของบประมาณ • การก่อหนี้ผูกพัน • การเบิกจ่ายเงิน • บทลงโทษการฝ่าฝืน

  38. ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ • หลักการจำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ • การจัดทำแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ • การใช้รายจ่าย • การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย • การรายงานผลการปฏิบัติงาน

  39. กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ • จัดให้มีข้อมูลข่าวสารของราชการ • ประกาศสอบราคา • ประกาศประกวดราคา • ผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้าง • สรุปผลเป็นรายเดือนทุกเดือน รายละเอียด • งานที่จัดซื้อจัดจ้าง • วงเงินงบประมาณ • วิธีซื้อหรือจ้าง • รายชื่อผู้เสนอราคาและราคาที่เสนอ • ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกและเหตุผล

  40. กฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง • คำสั่งทางปกครอง • การสั่งรับหรือไม่รับคำเสนอขาย รับจ้าง แลกเปลี่ยน ให้เช่าซื้อ หรือเช่า • การสั่งอนุมัติซื้อ หรือจ้าง แลกเปลี่ยน เช่า ขาย หรือให้เช่า • การสั่งยกเลิกกระบวนการพิจารณาคำเสนอ • การสั่งเป็นผู้ทิ้งงาน • การอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง

  41. กฎหมายว่าด้วยความรับผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐกฎหมายว่าด้วยความรับผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐ 1. รู้ ควรรู้ แต่ไม่ยกเลิกการดำเนินการ โทษจำคุก 1 - 10 ปี ปรับ 20,000 – 200,000 บาท 2. ออกแบบ กำหนดราคา เงื่อนไข ผลประโยชน์ตอบแทนเพื่อช่วย กีดกันผู้เสนอราคา โทษจำคุก 5 – 20 ปี / ตลอดชีวิต ปรับ 100,000 – 400,000 บาท 3. กระทำการมิให้มีการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม โทษจำคุก 5 – 20 ปี / ตลอดชีวิต ปรับ 100,000 – 400,000 บาท

  42. กฎหมายว่าด้วยความรับผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐกฎหมายว่าด้วยความรับผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ ผู้เสนอราคา • ร่วมกันในการเสนอราคาเพื่อหลีกเลี่ยงการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม มีโทษจำคุก 1 - 3 ปี ปรับ 50% 2. ให้ ขอให้ รับว่าจะให้ (รวมผู้รับ) มีโทษจำคุก 1 - 5 ปี ปรับ 50% 3. ข่มขืนใจ โดยใช้กำลังประทุษร้าย/ขู่เข็ญ มีโทษจำคุก 5 - 10 ปี ปรับ 50% 4. ใช้อุบายหลอกลวง มีโทษจำคุก 1 - 5 ปี ปรับ 50% 5. โดยทุจริตเสนอราคาสูง/ต่ำไม่สามารถปฏิบัติตามสัญญาได้ มีโทษจำคุก 1 - 3 ปี ปรับ 50% • นิติบุคคลกระทำผิดให้ถือว่าผู้บริหารเป็นตัวการร่วม

  43. ระเบียบ คตง.ว่าด้วยวินัยการงบประมาณและการคลัง โทษชั้นที่ 1 - มีหน้าที่ปิดประกาศ จัดส่งเอกสาร - ละเลยไม่ปิดปิดประกาศหรือจัดส่งหรือเผยแพร่ - ปรับไม่เกินเงินเดือน 1 เดือน โทษชั้นที่ 2 - มีหน้าที่เบิกจ่ายพัสดุ จัดทำบัญชี - ไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติไม่ถูกต้อง - ปรับเท่ากับเงินเดือนตั้งแต่ 2 เดือน ถึง 4 เดือน

  44. ระเบียบ คตง.ว่าด้วยวินัยการงบประมาณและการคลัง โทษชั้นที่ 3 - มีหน้าที่พิจารณาผลปฏิบัติไม่ถูกต้องตามเงื่อนไข โดยรู้ หรือควรจะรู้ เกิดความเสียหาย - ปรับเท่ากับเงินเดือนตั้งแต่ 5 เดือน ถึง 8 เดือน โทษชั้นที่ 4 - มีหน้าที่ดำเนินการจัดซื้อ จัดจ้าง ปฏิบัติหรือละเว้นปฏิบัติโดยมิชอบ แบ่งแยกวงเงินจัดซื้อ จัดจ้าง - ปรับเท่ากับเงินเดือนตั้งแต่ 9 เดือน ถึง 12 เดือน

  45. ประกาศ คตง.เรื่อง การจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง • ครุภัณฑ์ เกิน100,000 บาท • ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง เกิน 2,000,000 บาท • จะต้องจัดทำแผนให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 15 ของเดือนตุลาคม • ส่งสำเนาให้ สตง.ภายในวันที่ 31 ตุลาคม • กรณีที่มีการแก้ไข เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติมหรือตัดทอนรายละเอียด ให้ส่งสำเนา สตง. ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รับอนุมัติ

  46. กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ • กรณีเอกชน • ไม่ได้เกิดจากการกระทำในการปฏิบัติหน้าที่ ต้องรับผิดชอบเป็นการเฉพาะส่วนตัว • ต้องฟ้องตัวเจ้าหน้าที่ผู้ทำละเมิด จะฟ้องร้องหน่วยงานไม่ได้ กรณีเอกชน • ปฏิบัติตามหน้าที่หน่วยงานของรัฐเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงในผลแห่งละเมิดนั้น • ต้องฟ้องรัฐ

  47. กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ • กรณีหน่วยงานของรัฐ • ไม่ได้เกิดจากการกระทำ ในการปฏิบัติหน้าที่ • บังคับตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ • กรณีหน่วยงานของรัฐ • เกิดจากการกระทำในการปฏิบัติหน้าที่ • ต้องรับผิดชอบใช้ค่าสินไหมทดแทนตามสัดส่วน • เมื่อได้กระทำไปโดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

  48. การกำหนดราคากลาง งานก่อสร้างหน่วยงานจะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการ เพื่อคำนวณราคากลาง ตามนัยมติคณะรัฐมนตรี ในการคำนวณราคากลางจะต้องยึดถือระเบียบของ ทางราชการเป็นสำคัญ ในกรณีที่ไม่ใช้ระเบียบของทางราชการ หากผิดพลาด ถือว่าประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ทางราชการ

  49. ตรวจรับงานจ้างไม่ถูกต้องตรวจรับงานจ้างไม่ถูกต้อง ผู้ควบคุมงานและคณะกรรมการตรวจการจ้าง มีหน้าที่ต้องควบคุมดูแลและตรวจการจ้างให้เป็นไปตามข้อกำหนดในสัญญา ไม่ควบคุมดูแลและตรวจสอบการปฏิบัติงาน อย่างละเอียดรอบคอบ โดยรับรองความถูกต้องทั้งที่ ยังดำเนินการไม่แล้วเสร็จครบถ้วนตามแบบแปลน พฤติการณ์ถือได้ว่าปฏิบัติหน้าที่ด้วยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง จึงต้องรับผิดชดใช้ ค่าเสียหายตามสัดส่วน

  50. ไม่เรียกค่าปรับ ไม่มีการเรียกค่าปรับ เป็นเหตุให้ทางราชการได้รับความเสียหายเนื่องจากส่งมอบงานล่าช้า พฤติการณ์ถือได้ว่าเป็นการกระทำด้วยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ /ตรวจการจ้างจึงต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ทางราชการ

More Related