290 likes | 601 Views
รพสต. กับ การพัฒนางานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ด้วยแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์. ความสำเร็จของ รพสต. อยู่ที่ระบบงาน “สร้างนำซ่อม”. ซ่อม. ระบบบริการ. รพศ./ รพท. รพช. รพ สต. ระบบคัดกรอง. ระบบคัดกรอง. P & P shield. ระบบสร้างสุขภาพ ป้องกันโรค. สร้างตามวิสัยทัศน์. ชุมชน. รพสต.
E N D
รพสต. กับ การพัฒนางานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ด้วยแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ความสำเร็จของ รพสต. อยู่ที่ระบบงาน “สร้างนำซ่อม” ซ่อม ระบบบริการ รพศ./รพท. รพช. รพ สต. ระบบคัดกรอง ระบบคัดกรอง P & P shield ระบบสร้างสุขภาพ ป้องกันโรค สร้างตามวิสัยทัศน์ ชุมชน
รพสต. • 10คุณลักษณะของระบบงาน“สร้าง”ที่ดี • ไม่เกินสมรรถนะ • ประสิทธิภาพสมราคา • ต้นทุนตายตัว(Overhead)ไม่สูง • ราคาของการละเว้นไม่ปฏิบัติสูง • มีความยั่งยืน ความพอใจ • สัมผัสกับประชาชนใกล้ชิด • ประชาชนทำได้ด้วยตนเอง • ประชาชนให้ความสำคัญ • มีความสำคัญต่อยุทธศาสตร์ • มีโอกาสสร้างนวัตกรรม
จุดหมายปลายทางของ รพสต. ประชาชนแสดงบทบาททางสุขภาพตามวิสัยทัศน์ได้จริง ภาคีทุกภาคส่วนของสังคมมีบทบาทสร้าง สนับสนุนที่ชัดเจน มีนวัตกรรมที่มาจากประชาชนเกี่ยวกับมาตรการทางสังคม มีการพัฒนาทักษะการจัดการสุขภาพของประชาชน มีการกระจายของข้อมูลสุขภาพที่ถูกต้อง ทันสมัย
วิสัยทัศน์ “ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความ ตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา” คำตอบอยู่ที่การปรับเปลี่ยน พฤติกรรม
บทบาทของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์บทบาทของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (จุดหมายปลายทาง) ทำอะไรได้ในการพัฒนาตนเอง ประชาชน/ชุมชน แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ บทบาทของภาคี กระบวนการบริหารจัดการ จะร่วมมือกันอย่างไร ควรเชี่ยวชาญเรื่องใด สมรรถนะขององค์กร จะพัฒนาอะไร
การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ แผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์ SRM (๔ ปี) แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ SLM (๒ ปี) กลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ (๑ ปี) กิจกรรม งาน (การกระทำเชิง)วิชาการ งาน (การกะทำเชิง)สังคม ตัวชี้วัด
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM)ร่วมระหว่างกรมฯแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM)ร่วมระหว่างกรมฯ แสดง Road Map (เส้นสีแดง) สร้างแผนปฏิบัติการ ประชาชนปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์และพฤติกรรม ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ประชาชน ชุมชนมีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ อปท.ร่วมตัดสินใจขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภาคี ระบบสื่อสารสารสนเทศ มีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคี เครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม
กระบวนการถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่ท้องถิ่น/รพสต. กรม เขต จังหวัด อำเภอ จุดหมายปลายทาง SRM SLM ร่วมของกรมวิชาการ • จุดหมายปลายทาง • SLM ร่วม • ตาราง 11 ช่อง(บางส่วน) รวมเขตสร้างตาราง 11 ช่องร่วมรายประเด็น(บางส่วน) จากฐาน ข้อมูลตำบล จากแผนที่ความคิด • สร้างแผน • ปฏิบัติการ • หรือใช้แผนปฏิบัติการฉบับพื้นฐาน • เติมเต็มตาราง 11 ช่อง บริบทของท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนดประเด็น ท้องถิ่น/ตำบล ใช้ร่วมกันเสมอ
แผนปฏิบัติการพื้นฐาน เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม ประสบการณ์จากอำเภอบางขัน นครศรีธรรมราช สร้างโครงการชุมชน ดำเนินมาตรการทางสังคม ให้ข้อมูล /สื่อสาร/ความรู้ ดำเนินงานคัดกรอง/ เฝ้าระวัง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ร.ร.นวัตกรรมสุขภาพชุมชน) สร้างความร่วมมือระหว่างสาขา
แผนปฏิบัติการพื้นฐาน เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม สร้างโครงการชุมชน ดำเนินมาตรการทางสังคม ให้ข้อมูล /สื่อสาร/ความรู้ ดำเนินงานคัดกรอง/ เฝ้าระวัง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ร.ร.นวัตกรรมสุขภาพชุมชน) สร้างความร่วมมือระหว่างสาขา
แผนปฏิบัติการพื้นฐาน เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม สร้างโครงการชุมชน ดำเนินมาตรการทางสังคม ให้ข้อมูล /สื่อสาร/ความรู้ ดำเนินงานคัดกรอง/ เฝ้าระวัง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ร.ร.นวัตกรรมสุขภาพชุมชน) สร้างความร่วมมือระหว่างสาขา
แผนปฏิบัติการพื้นฐาน เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม สร้างโครงการชุมชน ดำเนินมาตรการทางสังคม ให้ข้อมูล /สื่อสาร/ความรู้ ดำเนินงานคัดกรอง/ เฝ้าระวัง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ร.ร.นวัตกรรมสุขภาพชุมชน) สร้างความร่วมมือระหว่างสาขา
แผนปฏิบัติการพื้นฐาน เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม สร้างโครงการชุมชน ดำเนินมาตรการทางสังคม ให้ข้อมูล /สื่อสาร/ความรู้ ดำเนินงานคัดกรอง/ เฝ้าระวัง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ร.ร.นวัตกรรมสุขภาพชุมชน) สร้างความร่วมมือระหว่างสาขา
แผนปฏิบัติการพื้นฐาน เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม สร้างโครงการชุมชน ดำเนินมาตรการทางสังคม ให้ข้อมูล /สื่อสาร/ความรู้ ดำเนินงานคัดกรอง/ เฝ้าระวัง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ร.ร.นวัตกรรมสุขภาพชุมชน) สร้างความร่วมมือระหว่างสาขา
แผนปฏิบัติการพื้นฐาน เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม สร้างโครงการชุมชน ดำเนินมาตรการทางสังคม ให้ข้อมูล /สื่อสาร/ความรู้ ดำเนินงานคัดกรอง/ เฝ้าระวัง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ร.ร.นวัตกรรมสุขภาพชุมชน) สร้างความร่วมมือระหว่างสาขา
การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์จะช่วยเร่งอัตราการพัฒนาสู่จุดหมายปลายทางคือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เร็วยิ่งขึ้นการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์จะช่วยเร่งอัตราการพัฒนาสู่จุดหมายปลายทางคือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เร็วยิ่งขึ้น
การจัดการนวัตกรรมสุขภาพชุมชนการจัดการนวัตกรรมสุขภาพชุมชน องค์ประกอบของยุทธศาสตร์ 1. กลุ่มเป้าหมาย 2. บุคลากร 3. มาตรการ 4. สภาวะแวดล้อม มาตรการทาง เทคนิควิชาการ มาตรการ ทางสังคม นวัตกรรม สุขภาพชุมชน เปิดงาน ปัญหา ปัญหา รร.นวัตกรรมสุขภาพชุมชน บทบาทท้องถิ่น /ชุมชน บทบาทบุคลากรสาธารณสุข ขยายงาน ท้องถิ่นสร้างแผนปฏิบัติการ/โครงการ สร้างใหม่
การขยายงานแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่ รพสต. ผู้ตรวจฯ สป./กรมฯ วิทยากร เขต สปสช.เขตพื้นที่ สสจ. วิทยากร จังหวัด วิทยากร SRM จังหวัด M & E ทั้งระบบ ร.ร.นวัตกรรมสุขภาพชุมชน วิทยากร อำเภอ ร.ร.นวัตกรรมสุขภาพชุมชน ต้นแบบ 3 แห่ง/จ.ว. ร.ร.นวัตกรรมฯ อำเภอละ 1 แห่ง ฟื้นความรู้บริหารจัดการระบบ P&P เปิดพื้นที่ใหม่ บุคลากร ท้องถิ่น /รพสต./แกนนำ ฝึกงานสร้างนวัตกรรม/โครงการ โครงการสุขภาพชุมชนฯ
บทบาทสนับสนุนของฝ่ายต่างๆ กรม จังหวัด วิชาการ บริหาร เขต อำเภอ วิทยากรเขต ท้องถิ่น / รพสต • ปรับกิจกรรม/งาน • ทบทวนบริหาร • ทบทวนปฎิบัติการ • M&E บริหารฯ • เทคนิคแผนที่ฯ • สนับสนุน • วิชาการ • จัดการระบบ P&P • สนับสนุนโครงการ • ชุมชน • บริหารจัดการ/สนับสนุน M&E ปฏิบัติการ ร่วมมือ ร่วมงาน รร.นวัตกรรมสุขภาพชุมชน
แผนปฏิบัติการพัฒนาบทบาทสร้างสุขภาพและป้องกันโรคของ อปท/รพสต พ.ศ. 2553-4 อปท/รพสต เปิดพื้นที่โครงการ(ชุมชน)ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม* Feedback Loop การลดลงของปัญหา พัฒนานวัตกรรมสสม. สร้างสมรรถนะ อปท/รพสต. ผ่านระบบแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่ เปิดโรงเรียนเพิ่มเติมตามความเหมาะสม *โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1.ไข้เลือดออก 2. เอดส์ 3. เบาหวาน/ความดัน 4. อาหารปลอดภัย โภชนาการ 5. ขยะชุมชน 6. อนามัยแม่และเด็ก 7. สุขภาพวัยเรียน วัยรุ่น 8. สุขภาพผู้สูงอายุ กรม สบส. สร้างทีมวิทยากรเขต เปิด รร.นวัตกรรมสุขภาพชุมชน(อปท/รพสต) + โครงการชุมชน จังหวัดๆละ 3 แห่ง สร้างวิทยากรจังหวัด Start M&E ผู้ตรวจราชการฯ/สสจ./อปท ร่วมบริหารจัดการแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ Track 1 คุณภาพ Inputs กรม อ . กรม คร. กรม สจ. Track 2 ปริมาณ ประชุมกำหนดประเด็น/ ปรับแผนที่ SLM/สร้างตารางนิยามเป้าประสงค์ร่วมกันโดยศูนย์/สนง.เขต/ภาค/ สสจ./อปทในเขต สนง.อย. กรม วพ. กรม พท. Start พัฒนานวัตกรรมกระบวนการ/ ทักษะของบุคลากร/แกนนำ/ประสิทธิภาพของข้อมูล
แผนที่นำทาง (Road Map) การขยายงานแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่ รพสต.และกองทุนสุขภาพตำบล พ.ศ. 2553 วิสัยทัศน์ ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการพัฒนา การดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพ แวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา ระยะการพัฒนา เตรียมการและปรับปรุงแนวทาง สร้างความเข้มแข็ง ในการพัฒนาพื้นที่ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และขยายผลระหว่างพื้นที่ ระยะเวลา • กำหนดนโยบายและ • แนวทางการดำเนินงาน • ตั้งคณะกรรมการ/ • คณะทำงานขับเคลื่อน • ทุกระดับ • สร้าง SRM-SLM และ • นิยามเป้าประสงค์ • ประสาน/เตรียม • วิทยากรกลาง • เตรียมหลักสูตรพัฒนา • ทักษะบุคลากร • กำหนดพื้นที่เป้าหมาย • และประสานงานพื้นที่/ • หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • เสริมทักษะทีมวิทยากร • กลางระดับเขต/จังหวัด • สร้างกระบวนการพัฒนา • งาน PP-SRM ในพื้นที่ • เป้าหมาย(โรงเรียนฯ) • การบริหารจัดการขยาย • งาน PP-SRM ในพื้นที่ ทั้งระดับ กรม/เขต/จังหวัดและพื้นที่ • สร้างโครงการชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร่วมกับ อปท.และชุมชน • เปิดโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนร่วมกับ อปท./ชุมชน • M&E&I พื้นที่เป้าหมายอย่างต่อเนื่อง • ขยายงาน PP-SRM ผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีระหว่างพื้นที่(TCDA) • สร้างแผนขยายการเรียนรู้/แผนการสอนของโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน • คัดกรองและประเมินความสามารถในการเป็นโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน • M&E&I พื้นที่เป้าหมายอย่างต่อเนื่อง กระบวนงานที่สำคัญ เป้าหมาย พื้นที่ รพ.สต. 5,000 แห่ง/โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน อย่างน้อยอำเภอละ 1 แห่ง
บทบาทและความร่วมมือระหว่างหน่วยงานระดับต่างๆ ระยะที่ 1เตรียมพัฒนาโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บทบาทและความร่วมมือระหว่างหน่วยงานระดับต่างๆ ระยะที่ 2ปฏิบัติการโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน * M,E&I = ติดตาม ประเมิน สร้างนวัตกรรม
ความสัมพันธ์ของโครงการนวัตกรรมสุขภาพชุมชน สุขภาพกลุ่มวัยต่างๆ โรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ สภาวะเสี่ยง สภาวะแวดล้อม ขยะชุมชน คุ้มครองผู้บริโภค สภาวะโภชนาการ ตั้งต้น ปุ๋ยอินทรีย์ เบาหวาน-ความดันฯ อาหารปลอดภัย
ภารกิจของผู้ตรวจราชการกระทรวงฯ ระหว่างพฤษภาคม-มิถุนายน 2553 • จัดประชุมศูนย์/สำนักงานเขต ภายในเขต ร่วมกับจังหวัดและท้องถิ่น (ผลผลิตคือ ตารางนิยามฯ11ช่องบางส่วน) • ตรวจสอบกับจังหวัดถึงกิจกรรมเหล่านี้ 2.1กำหนดพื้นที่เปิดโรงเรียนนวัตกรรมฯต้นแบบ 3แห่ง/จังหวัด 2.2วางแผนการปฏิบัติงานของวิทยากรเขตร่วมกับ สปสช.เขตฯ 2.3เปิดงานในพื้นที่กำหนด ดำเนินการถ่ายระดับ่ไปจนได้แผนปฏิบัติการพื้นฐาน (Road Map)และตาราง 11ช่องเต็ม 2.4 ตกลงกับท้องถิ่นถึงประเด็นตั้งต้นที่จะใช้แผน Road Map (ประเด็นตั้งต้นที่แนะนำ การคุ้มครองผู้บริโภค)
9 ภารกิจของ สสจ. • จัดให้มีคณะทำงานระดับจังหวัดจัดการแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ • คัดเลือกกองทุนฯต้นแบบอำเภอละ 1 แห่ง • จัดให้มีคณะทำงานระดับอำเภอ • ส่งวิทยากรที่คัดสรรแล้วเข้าร่วมเป็นทีมวิทยากรกลางเขต • จัดตั้งต้นแบบ “โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน” • เปิด 3 โครงการที่โรงเรียนต้นแบบ • ถ่ายจุดหมายปลายทางและแผนที่ (SLM) สู่ ตำบล • ใช้แผนปฏิบัติการปรับปรุงแผนตำบล • เพิ่มทักษะบริหารจัดการให้เจ้าหน้าที่ทุกระดับ