120 likes | 191 Views
การบรรยายและอภิปราย. เรื่อง นโยบายด้านการจัดการเรียนการสอน ระดับอุดมศึกษา ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในแผนระยะยาว 15 ปี โดย รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ดร.จิรณี ตันติรัตนวงศ์) วันพฤหัสบดีที่ 10 กรกฎาคม 2551 ณ ห้องประชุม 101-102 หอประชุมธำรง บัวศรี มหาวิทยาลัยบูรพา.
E N D
การบรรยายและอภิปราย เรื่อง นโยบายด้านการจัดการเรียนการสอน ระดับอุดมศึกษา ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในแผนระยะยาว 15 ปี โดย รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ดร.จิรณี ตันติรัตนวงศ์) วันพฤหัสบดีที่ 10 กรกฎาคม 2551 ณ ห้องประชุม 101-102 หอประชุมธำรง บัวศรี มหาวิทยาลัยบูรพา
แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษาและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ระดับนโยบาย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานที่ 2 : แนวการจัดการศึกษาจัดการเรียนรู้ ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ และการบริหารโดยใช้สถานศึกษา เป็นฐาน มาตรฐานที่ 3 : แนวการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้/สังคมแห่งความรู้ การสร้างวิถีการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ให้เข้มแข็ง มาตรฐานที่ 1 : คุณลักษณะของคนไทยที่ พึงประสงค์ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก คนไทยเป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข มาตรฐาน การศึกษาปฐมวัย สพฐ. มาตรฐาน การอาชีวศึกษา สอศ. มาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ. มาตรฐานการอุดมศึกษา สกอ.
มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิตมาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต
ระดับนโยบาย ระดับการนำไปสู่การปฏิบัติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานด้านการบริหาร จัดการการอุดมศึกษา มาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้ และสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (NQF) NQF สาขาวิชาที่ 1 NQF สาขาวิชาที่ 2 NQF สาขาวิชาที่ 3 รายละเอียดของหลักสูตรแต่ละสาขาวิชา รายละเอียดของรายวิชา
การดำเนินงานด้านกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติการดำเนินงานด้านกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ คำนิยาม: กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (National Qualifications Framework or Higher Education) หมายถึง แนวคิดใน การผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพตามที่มุ่งหวัง มีการกำหนดองค์ประกอบต่าง ๆ เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษาจัดการศึกษาให้บรรลุถึงเป้าหมายดังกล่าว ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตที่คาดหวังในแต่ละคุณวุฒิ โครงสร้างและระดับขั้นของการศึกษา ชื่อปริญญา จำนวนหน่วยกิต ระยะเวลาในการศึกษา และปัจจัยที่จะนำไปสู่ความสำเร็จ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิจะเป็นหลักให้สถาบันอุดมศึกษานำไปพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนเพื่อให้บัณฑิตบรรลุกลุ่มมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในแต่ละคุณวุฒิ และเป็นกรอบที่ผู้บริหาร คณาจารย์ รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถสื่อสารกับผู้ใช้บัณฑิตและสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพถึงกระบวนการจัดการศึกษาและคุณภาพของบัณฑิตในแต่ละคุณวุฒิ
ลักษณะของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิลักษณะของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ 1. โครงสร้างหลักของการจัดการศึกษาและความต่อเนื่องเชื่อมโยงของระดับต่างๆ ของการศึกษาอย่างเป็นระบบ 2. ประมวลกฎ เกณฑ์ และระเบียบต่างๆ ในการจัด การเรียนการสอนเข้าไว้ในกรอบเดียวกัน เช่น เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร เกณฑ์การกำหนด ชื่อปริญญา หลักเกณฑ์การเทียบโอนผลการเรียน และอื่นๆ 4. เงื่อนไขสู่ความสำเร็จ - ลักษณะของหลักสูตร (Program Specifications) - กลยุทธ์การสอนของคณาจารย์ - การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ ของนักศึกษา / บัณฑิต - การประเมินหลักสูตรและพัฒนา 3. กลุ่มมาตรฐานผลการเรียนรู้ (Domains of Learning) ที่คาดหวัง จากบัณฑิต - คุณธรรม จริยธรรม - ความรู้ - ทักษะและสมรรถนะต่างๆ
ระดับการนำไปสู่การปฏิบัติระดับการนำไปสู่การปฏิบัติ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (NQF) • ยุทธศาสตร์หลักของปัจจัย สู่ความสำเร็จ • จัดทำรายละเอียดของหลักสูตรและรายวิชา • กำหนดยุทธศาสตร์การสอน การวัดและประเมินผลนักศึกษาที่มุ่งเน้นมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามที่กำหนดใน NQF • ประเมินหลักสูตร • รายงานผลการดำเนินการและพัฒนา กรอบมาตรฐานฯ ตามระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา ผลผลิตทางการศึกษาที่ได้คุณภาพและมาตรฐาน • ผลที่คาดว่าจะได้รับ • ครู – อาจารย์ มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาวิธีการสอน นักศึกษามีการพัฒนาวิธีการเรียนรู้ • บัณฑิตได้รับการสั่งสอน อบรม กล่อมเกลาให้มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ความสามารถ ทักษะต่างๆ ตลอดจนคุณลักษณะอื่นๆ ตามที่กำหนดไว้ในกลุ่มมาตรฐานผลการเรียนรู้ เป็นที่พึงพอใจของผู้จ้างงานและสังคม สามารถแข่งขันในระดับสากลได้ • สถาบันอุดมศึกษามีกรอบในการพัฒนาหลักสูตรและ จัดการเรียนการสอนให้มีมาตรฐานเทียบเคียงกันได้
โครงสร้างและระดับขั้นการศึกษาในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาโครงสร้างและระดับขั้นการศึกษาในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่างการศึกษาระดับต่าง ๆ จำนวนหน่วยกิตและกลุ่มมาตรฐานผลการเรียนรู้
กรอบคุณวุฒิ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน ที่มา : ดร. กฤษณพงศ์ กีรติกร Brain Thrust 1.ความรู้ความเข้าใจ 2.ทักษะความคิดและเชาว์ปัญญา 3. การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์และการสื่อสาร ความสามารถบริหารจัดการช่วงกลาง (นบม. นบก. นบส.) ความสามารถ บริหารจัดการ เบื้องต้น Mentoring (10 ปี) การพัฒนา ความเป็นครู การเตรียม ความเป็นครู การพัฒนา นักวิจัยรุ่นกลาง การเพิ่มสมรรถนะ ทางวิชาชีพและ การจัดการระดับ กลาง / สูง (Shadowing, Sabbatical) การเริ่มขัดเกลา ทางสังคม การแนะแนวอาชีพ โปรแกรมการศึกษา และสถานศึกษา ครูอาวุโส นักวิจัยอาวุโส ผู้บริหารอาวุโส นักวิชาชีพอาวุโส การเพิ่มความเข้าใจ ในวิชาชีพ(Work Attachment) โควตา ระบบ Admission การขัดเกลาทางสังคม โดยประชาอาสา และบริการสังคม การเริ่มสร้าง ความเข้าใจ ในมิติวิชาชีพ ทุน การพัฒนา นักวิจัยรุ่นใหม่ ครู นักวิจัย ผู้บริหาร นักวิชาชีพ รุ่นกลาง O Net A Net ช่วงบ่มเพาะ - Early career development ( 5-10 ปี) ช่วงเรียนอุดมศึกษา ช่วงเก็บเกี่ยว (20 + ปี) มัธยมปลาย
กรอบคุณวุฒิ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน ที่มา : ดร. กฤษณพงศ์ กีรติกร 1.ความรู้ความเข้าใจ 2.ทักษะความคิดและเชาว์ปัญญา 3. การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์และการสื่อสาร ความสามารถบริหารจัดการช่วงกลาง (นบม. นบก. นบส.) Brain Thrust ความสามารถ บริหารจัดการ เบื้องต้น Five Domains of Learning การพัฒนา ความเป็นครู การพัฒนา นักวิจัยรุ่นกลาง ครูอาวุโส นักวิจัยอาวุโส ผู้บริหาอาวุโส นักวิชาชีพอาวุโส การเตรียม ความเป็นครู การเริ่มขัดเกลา ทางสังคม การแนะแนวอาชีพ โปรแกรมการศึกษา และสถานศึกษา การเพิ่มสมรรถนะ ทางวิชาชีพและ การจัดการระดับ กลาง / สูง (Shadowing, Sabbatical) การเพิ่มความเข้าใจ ในวิชาชีพ(Work Attachment) โควตา ระบบ Admission การเริ่มสร้าง ความเข้าใจ ในมิติวิชาชีพ การขัดเกลาทางสังคม โดยประชาอาสา และบรืการสังคม ทุน การพัฒนา นักวิจัยรุ่นใหม่ O Net A Net Mentoring (10 ปี) ช่วงบ่มเพาะ - Early career development ( 5-10 ปี) ช่วงเก็บเกี่ยว (20 + ปี) ช่วงเรียนอุดมศึกษา มัธยมปลาย