1 / 32

วัตถุประสงค์และเป้าหมายการประชุม

วัตถุประสงค์และเป้าหมายการประชุม. ๑. เพื่อทบทวนความเข้าใจเกี่ยวกับ “ ยุทธศาสตร์ ”และ “ การปรับโครงสร้าง สคร. ”. ๒. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับ“ บทบาท หน้าที่ ”และ “ ความรับผิดชอบ ” ของแต่ละคนภายใต้การปรับโครงสร้างใหม่.

finnea
Download Presentation

วัตถุประสงค์และเป้าหมายการประชุม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วัตถุประสงค์และเป้าหมายการประชุม วัตถุประสงค์และเป้าหมายการประชุม ๑. เพื่อทบทวนความเข้าใจเกี่ยวกับ “ยุทธศาสตร์”และ “การปรับโครงสร้าง สคร.” ๒. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับ“บทบาท หน้าที่ ”และ “ความรับผิดชอบ” ของแต่ละคนภายใต้การปรับโครงสร้างใหม่ ๓. เพื่อวิเคราะห์ “สมรรถนะที่จำเป็น”ในการทำงานให้บรรลุความสำเร็จ ๔. เพื่อเรียนรู้การใช้ “แนวคิดและเครื่องมือการจัดการความรู้” ในการพัฒนา สมรรถนะที่จำเป็นในการทำงานตามข้อ ๓ ๕. เพื่อให้ “กลุ่มงานพัฒนาองค์กร”สามารถนำกระบวนการไปขยายผลต่อใน สคร.

  2. วันที่ ๑ กำหนดการ กิจกรรมอุ่นเครื่องก่อนเข้าสู่การเรียนรู้ เช้า ชี้แจงวัตถุประสงค์ เป้าหมาย แบ่งกลุ่มย่อยตามกลุ่มงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ • วิธีการแบ่งกลุ่มงาน ของแต่ละ สคร. • ระดมข้อกังวลใจ และคำถาม ต่อการทำงานหลังปรับโครงสร้าง ตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการประชุมกลุ่มย่อย บ่าย ทบทวนยุทธศาสตร์และการปรับโครงสร้าง สคร. แบ่งกลุ่มย่อยตามกลุ่มงาน ลปรร. เกี่ยวกับ • บทบาท หน้าที่ ใหม่ • ผลงานที่เป็นเลิศ (ตัวชี้วัด เกณฑ์) • แนวทาง ขั้นตอน การปฏิบัติงาน และผลลัพธ์รายทางที่เป็นเลิศ • สมรรถนะที่จำเป็นที่ทำให้งานสำเร็จ

  3. กำหนดการ วันที่ ๒ เช้า กิจกรรมอุ่นเครื่องก่อนเข้าสู่การเรียนรู้ สมรรถนะและการพัฒนาสมรรถนะ (Competency) การจัดการความรู้กับการพัฒนาสมรรถนะ การจัดการความรู้กับการพัฒนาสมรรถนะเพื่อขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ ที่ ๑ ตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการประชุมต่อท่านรองอธิบดี การจัดการความรู้กับการพัฒนาสมรรถนะเพื่อขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ ที่ ๒ บ่าย ยุทธศาสตร์ ที่ ๓ ยุทธศาสตร์ ที่ ๔ ยุทธศาสตร์ ที่ ๕ ยุทธศาสตร์ ที่ ๖

  4. กำหนดการ วันที่ ๓ เช้า กิจกรรมอุ่นเครื่องก่อนเข้าสู่การเรียนรู้ การจัดการความรู้กับการพัฒนาสมรรถนะเพื่อขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ ที่ ๒ ยุทธศาสตร์ ที่ ๓ ยุทธศาสตร์ ที่ ๔ ยุทธศาสตร์ ที่ ๕ ยุทธศาสตร์ ที่ ๖ บรรยายสรุป แนวทางการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ของแต่ละ สคร. ปิดการประชุม

  5. กรมควบคุมโรค ๑.กระบวนการปรับโครงสร้าง • บทบาท หน้าที่ ขอบเขตความรับผิดชอบ • จำนวนอัตรา • สำนักโรค • สำนัก KM • หัวหน้า • ทีมงาน คณะกรรมการและวิธีการทำงาน ๒.แผนงาน งบประมาณ กำลังคน ๔.ตัวช่วย (เสนอท่านรองอธิบดี) สคร • บทบาทใหม่ บทบาทเก่า • เฉพาะหน้า • ระยะกลาง ระยะยาว • การถ่ายโอนความรู้และประสบการณ์ ๓.สรุปข้อกังวล รู้ เข้าใจ สามารถ • คน (จำนวน คุณภาพ) • ผลงาน • วิธีการทำงาน ๓. สื่อสารสาธารณะ • ระบบความสัมพันธ์ (ภายใน ภายนอก) • ความต่อเนื่องของนโยบาย ๒. วิชาการ ๔. การตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ๑. เครือข่าย ๕. แผนงาน + การประเมินผล ๖. พัฒนาองค์กร

  6. คำถามพื้นฐานของคนทำงาน คำถามพื้นฐานของคนทำงาน ๑. เราต้องทำอะไรบ้าง (บทบาท หน้าที่ ขอบเขตความรับผิดชอบ) ๒. ถ้าทำสำเร็จ ภาพความสำเร็จเป็นอย่างไร (ตัวชี้วัด เกณฑ์) : ผลลัพธ์ที่เป็นเลิศ ๓. แนวทาง ขั้นตอน ผลลัพธ์รายทาง (ที่ได้มาตรฐาน ที่เป็นเลิศ) ๔. สมรรถนะ (Competency) ๔.๑ ทักษะ ๔.๒ ความรู้ ๔.๓ ทัศนะคติความเชื่อ การให้คุณค่า ๔.๔ นิสัย บุคลิคภาพ แรงบันดาลใจ

  7. Vision Mission องค์กร บทบาท หน้าที่ (Job Description) Core Value Structure Job Analysis ขั้นตอนการทำงาน (Work Flow) คุณสมบัติพื้นฐาน (Requirement) Career Path ผลลัพธ์ของงาน (Output/Impact) มาตรฐานงาน (Work Standard) ตัวชี้วัด (Key Performance Indicator) แนวปฏิบัติเป็นเลิศ (Best Practice) เป็นเลิศ (The Best) สมรรถนะ (Competency) ปัจจัย เงื่อนไข หลัก (Critical Success Factor) HRD/HRM LO/KM Critical Knowledge

  8. สมรรถนะ(Competencies) คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เกิดจาก ๑. ความรู้ (Knowledge) ๒. ทักษะ (Skill) ๓. ความสามารถ (Abilities) ๔. คุณลักษณะส่วนบุคคล (Trait) ๔.๑ ลักษณะนิสัย (Trait) ๔.๒ แรงจูงใจ (Motive) ๔.๓ บุคลิกภาพ (Personality) ๔.๔ ภาพลักษณ์ของตนเอง (Self-image) ๔.๕ บทบาทที่แสดงออกในสังคม (Social role)

  9. ขั้นตอนในการจัดทำสมรรถนะ ๑. ต้องรู้บทบาท หน้าที่ คืออะไร ๒. หากจะทำหน้าที่ตามบทบาทดังกล่าวให้มี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล จะต้องใช้ความรู้ ด้านใดบ้าง ใช้ทักษะอะไร และจะต้องใช้ คุณลักษณะพฤติกรรมอะไรบ้าง ๓. จัดกลุ่มความรู้ ทักษะ คุณลักษณะและพฤติกรรมที่ใช้ มากำหนดเป็นสมรรถนะ ๔. นำสมรรถนะไปจัดโครงสร้างสมรรถนะ (ชื่อ นิยาม ระดับ พฤติกรรมบ่งชี้หรือพฤติกรรมหลัก)

  10. 1. บทบาท หน้าที่ ขอบเขตความรับผิดชอบ 2. เป้าหมาย ผลงาน ผลงานที่เป็นเลิศ (ตัวชี้วัด เกณฑ์) 3. แนวทางขั้นตอน การปฏิบัติงาน ผลลัพธ์แต่ละขั้นตอน 4.ความรู้ ความสามารถ ที่จะทำให้งานสำเร็จ แต่ละขั้นตอน Competencies ความรู้ ทักษะ แรงจูงใจ ทัศนะคติ นิสัย บุคลิกภาพ ของแต่ละคน ของกลุ่ม บทบาททางสังคม

  11. ผู้ร่วมแลกเปลี่ยน ผู้มีประสบการณ์ กลุ่มพัฒนาองค์กร ผู้ร่วมแลกเปลี่ยน ผู้ร่วมแลกเปลี่ยน ผู้ร่วมแลกเปลี่ยน ผู้ร่วมแลกเปลี่ยน ผู้ดำเนินรายการ

  12. ๑. ข้อคิดสำหรับตัวเองคืออะไร ๒. ความสำเร็จของนางเอกในเรื่องนี้มีอะไรบ้าง ๓. ความสำเร็จดังกล่าว เพราะมี Competency ตัวไหนบ้าง

  13. ให้แต่ละท่าน ทบทวน ประสบการณ์ในชีวิตของแต่ละท่าน ในประเด็น • ความสำเร็จในชีวิตหรือการทำงานที่ท่านประทับใจและภาคภูมิใจ มากที่ในชีวิตของท่าน คือ เรื่องอะไร ๒. ความสำเร็จดังกล่าวเกิดขึ้นได้จาก Competencyตัวไหนบ้าง ๓. Competencyดังกล่าว ท่านพัฒนา หรือสร้างขึ้นมาได้อย่างไร

  14. ขั้นตอน มาตรฐาน K1 K2 การจัดวงการเรียนรู้ (COP) • ตัวเดินเรื่อง • ความเป็นชุมชน • แนวปฏิบัติ การจัดการความรู้ 1. 2.

  15. ผลที่คาด วิธีคิด วิธีคิด ผลที่เกิดจริง ผลที่เกิด ผลที่เกิด วิธีทำ วิธีทำ ผลที่คาด ผลที่เกิดจริง หลักคิดในการถอดความรู้และบทเรียนจากการทำกิจกรรม

  16. Tacit Tacit Explicit Action Tacit Explicit Action Explicit Action

  17. ๑. การวิเคราะห์ “ทุกข์” “ทุน”ของพื้นที่ (อำเภอนำร่อง) ๑.๑ ปัญหาและสาเหตุของปัญหา ๑.๒ สภาพหรือสถานการณ์ที่พึงประสงค์ (เบื้องต้น) ๑.๓ อะไรคือ “ทุน”ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ • ทุนภายใน ๕. ผลลัพธ์รายทาง • ทุนภายนอก ๘.AAR ๖. กิจกรรม ๓. ผลลัพธ์ปลายทาง ๗. สมรรถนะ ๓.๑ การเปลี่ยนแปลง ๔. เส้นทางเดิน ภาคี ๒. ข้อมูลบริบทพื้นที่ • อบต. เทศบาล อบจ. • สสจ. สอ. รพ.สต. ๒.๑ ฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ๓.๒ ข้อมูล ความรู้ บทเรียน • รร. สถาบันการศึกษา ๒.๒ คน กลุ่ม องค์กร เครือข่าย • ฐานข้อมูล • วัด • เอกสาร ๒.๓ วัฒนธรรม ความเชื่อ ประเพณี ปฏิทินชุมชน ๒.๔ แหล่งเงินทุน งบประมาณ • วิดีทัศน์

  18. 4.การฝึกอบรมและการเรียนรู้4.การฝึกอบรมและการเรียนรู้ 5.การวัดผล 6.การยกย่อง ชมเชย วิสัยทัศน์ /พันธะกิจ 1. บ่งชี้ความรู้ 5. การเข้าถึงความรู้ 2. สร้างแสวงหาความรู้ 6. การ ลปรร. ขอบเขต KM เป้าหมาย KM 3. จัดความรู้ให้เป็นระบบ ยุทธศาสตร์ 4. กลั่นกรอง คัดสรร 3.กระบวนการ และเครื่องมือ 1.เตรียมการปรับ เปลี่ยนพฤติกรรม 2.การสื่อสาร

  19. การจัดการความรู้ เพื่อสนับสนุน ๖ ประเด็นยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค

  20. ๖ ประเด็นยุทธศาสตร์ ของ กรมควบคุมโรค วิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพด้วยความเป็น เลิศทางวิชาการ ภายในปี ๒๕๖๓

  21. ประเด็นยุทธศาสตร์ ๑ ยุทธศาสตร์ • การพัฒนาและร่วมมือกับเครือข่ายภาคี • ภายในประเทศ และ • นานาชาติ รวมทั้ง • สนับสนุนพื้นที่ในการดำเนินงาน • - เฝ้าระวังป้องกัน และควบคุม • - โรค และภัยสุขภาพ • อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน

  22. ตัวละคร บทบาทเดิม จุดเด่น ทุน บทบาทที่คาดหวัง ผลลัพธ์ที่คาดหวัง ความสามารถที่ต้องเพิ่มเติม สคร. สสจ. ภาคี ศูนย์อำเภอ ภาคี กลุ่ม/องค์กร ประชาชน

  23. การพัฒนาเป็นศูนย์กลางการพัฒนาเป็นศูนย์กลาง • นโยบาย มาตรการ • นวัตกรรม • ข้อมูลอ้างอิง และมาตรฐานวิชาการ • เฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของชาติ • ที่ได้มาตรฐานสากลและเป็นที่ยอมรับ ประเด็นยุทธศาสตร์ ๒

  24. ตัวละคร บทบาทเดิม จุดเด่น ทุน บทบาทที่คาดหวัง ผลลัพธ์ที่คาดหวัง ความสามารถที่ต้องเพิ่มเติม สคร. สสจ. ภาคี สินค้า วิธีการขาย ลูกค้า • ที่มีอยู่ • ได้มาตรฐาน • ยังไม่ได้มาตรฐาน • ที่ต้องทำเพิ่ม ขายผ่านภาคี ศูนย์อำเภอ ภาคี บริการหลังการขาย กลุ่ม/องค์กร ประชาชน

  25. ประเด็นยุทธศาสตร์ ๓ • การสื่อสารสาธารณะและประชาสัมพันธ์ • อย่างทั่วถึงและได้ผล • เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

  26. ตัวละคร บทบาทเดิม จุดเด่น ทุน บทบาทที่คาดหวัง ผลลัพธ์ที่คาดหวัง ความสามารถที่ต้องเพิ่มเติม สคร. สสจ. • สาร • ผู้สื่อ ภาคี • ช่องทาง • ผู้รับสาร (รับ ผลที่เกิด) ศูนย์อำเภอ ภาคี ประชาชนทั่วไป กลุ่ม/องค์กร ประชาชน

  27. ประเด็นยุทธศาสตร์ ๔ การเตรียมความพร้อมและดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในสถานการณ์ฉุกเฉินและภัยพิบัติอย่างรวดเร็วตามความต้องการของพื้นที่และได้มาตรฐานสากล

  28. ตัวละคร บทบาทเดิม จุดเด่น ทุน บทบาทที่คาดหวัง ผลลัพธ์ที่คาดหวัง ความสามารถที่ต้องเพิ่มเติม สคร. กรรมการ ผู้ที่เกี่ยวข้อง ภาคี War room / ด่าน ข้อมูล การวิเคราะห์ความเสี่ยง แผนตอบโต้ (สื่อสาร สั่งการ ดำเนินการ) ระดับตำบล ระดับจังหวัด ระดับอำเภอ การซ้อมแผน • บนโต๊ะ • พื้นที่จริง การปฏิบัติการในสถานการณ์จริง ระบบการรายงาน

  29. มาตรฐานทีมงาน ๑. การจัดตั้งทีม SRRT ๒. ศักยภาพทางวิชาการของทีม SRRT มาตรฐานความพร้อม ๓. มีความพร้อมในภาวะปกติ ๔. มีความพร้อมในการปฏิบัติงานทันเวลา (Response time) มาตรฐานการเฝ้าระวังและเตือนภัย ๕. การจัดทำสถานการณ์โรคที่สำคัญและเผยแพร่อย่างต่อเนื่อง ๖. ความครอบคลุมของหน่วยงานที่ส่งรายงานผู้ป่วยติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่องตามเกณฑ์ที่กำหนด ๗. ความทันเวลาของการรายงานผู้ป่วยโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังตามเกณฑ์ที่กำหนด ๘. การแจ้งเตือนภัยจากการตรวจสอบสถานการณ์โรค ๙. การทราบข่าวเตือนภัยและองค์ความรู้ทางเครือข่ายอิเลคทรอนิคส์ มาตรฐานการสอบโรค ๑๐. ความครบถ้วนของการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายในพื้นที่รับผิดชอบ ๑๑. ความทันเวลาของการได้รับแจ้งข่าวการระบาด ๑๒ ความครบถ้วนของการสอบสวนการระบาด ๑๓. การสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ ๑๔. การเขียนรายงานสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ

  30. ประเด็นยุทธศาสตร์ ๕ การติดตามและประเมินผล ภาพรวมของการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ของประเทศ ตามมาตรฐานสากล

  31. ประเด็นยุทธศาสตร์ ๖ • การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการ • องค์กร และ • บุคลากร • ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล

  32. ยุทธศาสตร์ โครงสร้างใหม่ สคร. ๑. พัฒนาและร่วมมือกับเครือข่ายภาคี กลุ่มงานที่ ๑. พัฒนาภาคีเครือข่าย กลุ่มงานที่ ๒. พัฒนาวิชาการ ๒. พัฒนานโยบาย มาตรการ นวัตกรรม ข้อมูล มาตรฐานวิชาการ กลุ่มงานที่ ๓. สื่อสารความเสี่ยงและ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ๓. สื่อสารสาธารณะและประชาสัมพันธ์ กลุ่มงานที่ ๔. ควบคุมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ๔. เตรียมพร้อม ดำเนินการ ป้องกันควบคุม ในภาวะฉุกเฉิน กลุ่มงานที่ ๕. ระบาดวิทยาและข่าวกรอง กลุ่มงานที่ ๖. แผนงานและประเมินผล ๕. ติดตามประเมินผล กลุ่มงานที่ ๗. พัฒนาองค์กร บุคลากร ๖. พัฒนาคุณภาพ องค์กร บุคลากร กลุ่มงานที่ ๘. บริหารงานทั่วไป

More Related