1 / 11

รัฐในเศรษฐศาสตร์สถาบัน

รัฐในเศรษฐศาสตร์สถาบัน. ความหมาย ขอบเขต การเกิดขึ้นและการคงอยู่ คุณสมบัติ หรือหน้าที่ของรัฐ Stiglitz อำนาจรัฐ ใครเป็นเจ้าของอำนาจรัฐ ใช้อำนาจรัฐอย่างไร. รัฐ ( State ). Monopoly of Legitimate Use of Power Power อำนาจ (Sovereignty: ถูกแบ่งเป็นสามส่วน )

finley
Download Presentation

รัฐในเศรษฐศาสตร์สถาบัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รัฐในเศรษฐศาสตร์สถาบันรัฐในเศรษฐศาสตร์สถาบัน • ความหมาย • ขอบเขต • การเกิดขึ้นและการคงอยู่ • คุณสมบัติ หรือหน้าที่ของรัฐ • Stiglitz • อำนาจรัฐ • ใครเป็นเจ้าของอำนาจรัฐ • ใช้อำนาจรัฐอย่างไร

  2. รัฐ (State) • Monopoly of Legitimate Use of Power • Power อำนาจ (Sovereignty: ถูกแบ่งเป็นสามส่วน) • Authority to allocate resources by coersion • Coersion = law + enforcement • Law + Enforcement จำเป็นต้องมี Institutions สนับสนุน • Legitimacy ความชอบด้วยกฎหมาย • ≠ ความชอบธรรม (righteousness) • จะชอบด้วยกฎหมายได้ ต้องมี Law + Enforcement • Law and Enforcement ต้องทำหน้าที่บางอย่างเพื่อให้สังคม “ดีขึ้น” กว่าที่ไม่มี • Monopoly

  3. ความชอบด้วยกฎหมาย (Legitimacy) • ที่มาของความชอบด้วยกฎหมาย • Divinity/Divine Right • State of Nature: คนเป็นสัตว์สังคม • Social Contract • Rational-Legal Theory (Max Weber) • คนบางกลุ่มมี Specialisationในการเป็นผู้นำหรือผู้ปกครอง • การควบคุมความชอบด้วยกฎหมาย • การยอมรับของคนในสังคม • การใช้เครื่องมือทางกฎหมาย • รัฐธรรมนูญ

  4. การจัดองค์กรของรัฐ (Organisation of State) • Sovereignty ถูกใช้อย่างไร หรือการจัดสรรอำนาจทำอย่างไร • คนเดียว – หลายคน – ทุกคน • ข้อดี ข้อเสีย  transaction costs • ไม่ว่าจะใช้อย่างไร จำเป็นต้องมี Legitimacy • =ความสอดคล้องของระบบเศรษฐกิจ • ตลาด • กรรมสิทธิ์และสัญญา • Firm • Means ที่ต่างกัน แต่มีวัตถุประสงค์เดียวกันคือ หน้าที่ของรัฐ (Functions of State) ที่ต้องทำให้สมบูรณ์

  5. การเกิดขึ้นของรัฐ • Transaction Cost ของวิธีอื่นนั้นสูงกว่า โดยเฉพาะตลาด • ปัญหาคือ ตลาดจะเกิดก็ต้องมีรัฐอยู่แล้ว • Spontaneity ตาม New Right Approach • เกิดขึ้นพร้อมๆ กัน กับตลาดและกรรมสิทธิ์ • รัฐศาสตร์: เกิดขึ้นตามธรรมชาติ • Marxism • รัฐเป็นเครื่องมือที่ทำหน้าที่หลายอย่าง (แหล่งผลประโยชน์ของข้าราชการ/กำหนดโครงสร้างด้านบนของสังคม (การเมือง การทูต กฎหมาย ศาล ศาสนา วัฒนธรรม)/กำหนดชนชั้นของสังคม/การยึดโยงสมาชิกในสังคมเข้าไว้ด้วยกัน/การแบ่งงานกันทำและการจ้างงาน/การครอบงำทางการเมือง โดยการแทรกแซงในด้านต่างๆ เมื่อเกิดความขัดแย้ง

  6. การเกิดขึ้นของรัฐ • Marxism (ต่อ) • Instrumentalism เป็นเพียงเครื่องมือ • ดังนั้นสามารถปรับได้ ปรับเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อคนทุกคนได้ เพราะว่าที่ผ่านมาเป็นเครื่องมือของคนชั้นขุนนาง (aristocrat) คนชั้นกลางหรือนายทุน (bourgeoisies) ให้มาเป็นประโยชน์ต่อคนชั้นแรงงาน (proletariat) • รัฐเปลี่ยนแปลงไปตามแรงกดดันของกลุ่มคนในชนชั้นเหล่านี้ไปเรื่อยๆ (institutional change)พร้อมทั้งสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป (changes in institutional environment) • Historical • ความต้องการในการค้าขาย และความจำเป็นในการได้รับความคุ้มครอง • การแข่งขันระหว่างรัฐ (ในยุคกลาง) และการเกิดขึ้นของรัฐชาติ

  7. ระบบประชาธิปไตยและระบบทุนนิยมระบบประชาธิปไตยและระบบทุนนิยม • เป็นสองระบบที่ complement กัน • แยกอำนาจ แยกความเป็นเจ้าของ แยกๆๆๆๆๆ • Division of Labour • Specialisation • แยกเพื่อ??? • การตัดสินใจส่วนบุคคล • ทั้งด้านการเมืองและด้านเศรษฐกิจ • แต่สุดท้ายก็ต้องเกี่ยวพันกันอยู่ดี

  8. Theory of the State • North (1979, 1981) • รัฐเป็นองค์กรองค์กรหนึ่งในสถาบันสังคม ทำหน้าที่ร่วมกับสถาบัน property right ซึ่งรัฐต้องให้การรับรอง และสถาบันตลาด (ที่รัฐก็รับรองเช่นเดียวกัน) (และในตลาดก็มี firm เป็นองค์กรอยู่ด้วย ซึ่งรัฐก็ต้องให้การรับรองด้วย) • ณ เวลาหนึ่ง มี PPC อยู่ระดับหนึ่ง ถูกกำหนดโดย Resource Endowment + Technology(Technical PPC) • แต่ละสถาบันหรือองค์กร ต่างก็มี PPC ย่อยๆ อีก • ซึ่งต่ำกว่า PPC ใหญ่ • รัฐจะทำหน้าที่ coordinate ส่วนต่างๆ (สถาบัน/องค์กร) ให้ทำงานร่วมกันของส่วนต่างๆ หรือสถาบันและองค์กรต่างๆ

  9. Theory of the State • ระบบการเมือง หรือการจัดองค์กรของรัฐ มีผลว่า จะนำ PPC ของทุกส่วนทำงานร่วมกัน เข้าใกล้ technical barrier ได้หรือไม่ • รัฐจัดองค์กรอย่างไร และทำอะไรบ้าง • รัฐสนับสนุนให้เอกชนทำงานเต็มที่หรือไม่ • เมื่อเกิด Market Failure แล้วรัฐทำได้ดีกว่าจริงหรือไม่ • ผลิต Public Goods ได้เพียงพอหรือไม่ • ทำให้เกิด Organisationหรือ Government Failure หรือไม่

  10. Theory of the State • Findlay and Wilson (1984) • Y = C + I + G + (X-M) • Y = f(L,K)p(G) Y Y* G G*

More Related