330 likes | 794 Views
กรณีศึกษา : การเตรียมความพร้อมกิจกรรม/ โครงการรองรับการเป็นประชาคมอาเซียนและเปิดเสรีการค้าบริการด้านอุดมศึกษา. รศ.ดร.นันทนา คชเสนี ผู้อำนวยการบริหาร เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน. การรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน. AUN Socio-Cultural Community Education Human resource development
E N D
กรณีศึกษา: การเตรียมความพร้อมกิจกรรม/ โครงการรองรับการเป็นประชาคมอาเซียนและเปิดเสรีการค้าบริการด้านอุดมศึกษา รศ.ดร.นันทนา คชเสนี ผู้อำนวยการบริหาร เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน
การรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน • AUN • Socio-Cultural Community • Education • Human resource development • Capacity Building • Identity & Awareness • As integral part of community integration ASEAN Community The Three Pillars Political Community Economic Community Socio-Cultural Community Require: Harmonisation of policies and institutions Strong commitment for cross-border cooperation
ขัอมูลสังคมและเศรษฐกิจ (2552)
แผนงานสำคัญใน AEC BlueprintGDP = US$ billion 1,500 (2009) A B C D ตลาดเดียว/ ฐานการผลิตเดียว ขีดความสามารถการแข่งขันสูง พัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค บูรณาการกับเศรษฐกิจโลก • เปิดเสรีการค้าสินค้า (AFTA) • เปิดเสรีการค้าบริการ(AFAS) • เปิดเสรีการลงทุน (AIA) • เคลื่อนย้ายเงินลงทุนระหว่างกันได้ดีขึ้น • เปิดเสรีการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ • รวมกลุ่มสาขาสำคัญ (priority sector) • นโยบายการแข่งขัน • การคุ้มครองผู้บริโภค • ทรัพย์สินทางปัญญา • การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน • ภาษีอากร • การพัฒนา SMEs • แผนงานการริเริ่มการรวมตัวอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration: IAI) • ความเป็นหนึ่งเดียวในการตอบสนองต่อเศรษฐกิจภายนอก • การมีส่วนร่วมในเครือข่ายอุปทานโลก
การจ้างงานในประเทศสมาชิกหลัก ASEAN 5 Source: ASEAN Statistical Yearbook 2008
อัตราการขยายตัวที่แท้จริงของGDP (ประเทศไทย)ด้านการผลิตในภูมิภาค ASEAN
ปฏิญญาชะอำ-หัวหิน ประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน ครั้งที่ 15(23-35 ตุลาคม 2552) อ.ชะอำ-หัวหิน: ผูนําอาเซียนไดลงนามในปฏิญญาวาดวยการส่งเสริมความร่วมมือด้านการศึกษาเพื่อบรรลุประชาคมอาเซียนที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน (Cha-am Hua-Hin Declaration on Strengthening Cooperation on Education to Achieve ASEAN Caring and Sharing Community) • บทบาทของการศึกษา • เป็นกลไกพื้นฐานในการบ่มเพาะจิตสำนึกทางการเมือง • สร้างความตระหนักในความเป็นชาติ • สร้างความรู้สึกของการมีส่วนร่วมในสังคม • กำหนดรูปแบบ แนวคิดและค่านิยมร่วมของคนในสังคม
การเมือง การศึกษา เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม สาขาที่มีความอ่อนไหว
ASEAN University Network Composition & Activities Policy-makers (University’s Presidents/Rectors/VCs) Academic Staff ASEAN University Network Our Stakeholders & Our Key Result Areas Other Stakeholders Students
ASEAN University Network Composition & Activities ASED Meeting ASEAN Policy Support SOM-ED Meeting Policy-makers (University’s Presidents/Rectors/VCs) Academic Staff AUN Rectors’ Meeting AUN Rectors’ Conference Policy-makers (University’s Presidents/Rectors/VCs) Policy Dialogue ASEAN-China Rectors’ Conference ASEAN University Network Stakeholders & Key Result Areas ASEAN+3 Rectors’ Conference ASEM Rectors’ Conference Other Stakeholders Programme Assessment AUN-QA Policy Implementation Policy-makers (University’s Presidents/Rectors/VCs) Training the QA Experts for CLMV Students Training the AUN-Assessors ASEAN Credit Transfer System (ACTS)
AUN/SEED-Net Southeast Asia Engineering Education Development Network (AUN/SEED-Net) Collaborative Research KASEAS ASEAN-Korea Academic Cooperation (KASEAS) Academic Exchange & Networking/ Sub-Networks ASEAN Graduate Business and Economic Programme (AGBEP) Academic Cooperation (Conference, workshop, seminar, meeting, etc.) Sustainable Energy and Environmental Forum (SEE Forum) Policy-makers (University’s Presidents/Rectors/VCs) Non-academic Networking AUN Intellectual Property Network (AUNIP) Academic Staff ASEAN+3 IRO Meeting AUN Human Right Network (AUN-HREN) USR&S Workshop AUN Inter Library Online (AUNILO) Master Programme (UM) ASEAN Studies PhD Programme ASEAN University Network Stakeholders & Key Result Areas IP Education (ECAP III) Curriculum & Programme Development / Implementation Academic Staff Foundation Courses (EWC, USA) Human Right Education Network of East Asian Studies (NEAS) Foundation Courses Other Stakeholders AUN/SEED-Net IP Law Programme IP Management & IP Law Training lecturers Human IP Management Programme ASEAN Studies Resource Development Students QA Officers AUNILO Non-human Academic Staff Database of ASEAN Experts ASEAN University Network Composition & Activities
Students AUN Study Awards Student Exchanges ASEAN Studies Scholarships Scholarships Student Mobility China-AUN Scholarships Policy-makers (University’s Presidents/Rectors/VCs) AUN Internship International College Student Exchange (ROK) Academic Staff Korean Studies Scholarships GIST Scholarships (ROK) Students AUN/SEED-Net Scholarships (Japan) ASEAN University Network Stakeholders & Key Result Areas AUN Educational Forum and Young Speaker Contest ASEAN Youth Cultural Forum Student Activities / Networking Other Stakeholders ASEAN University Youth Summit 2008/2009 Japan-ASEAN Student Conference (JENESYS) Students Student Representatives’ Conference ASEAN University Network Composition & Activities
Other Stakeholders SEAMEO UN Specialised bodies (UNDP, UNESCO) Policy-makers (University’s Presidents/Rectors/VCs) Partner Organisations Academic Staff ASEAN Foundation ASEAN University Network Stakeholders & Key Result Areas Other Stakeholders CHINA JAPAN Dialogue Partner Countries Other Stakeholders ROK EU Students USA ASEAN University Network Composition & Activities
กิจกรรมภายใต้เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน เพื่อรองรับการเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกษา
กิจกรรมภายใต้เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน เพื่อรองรับการเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกษา
ASEAN University NetworkBuilding a Community ASEAN Community Socio-Cultural Community Economic Community Political Community Promote deeper regional awareness Narrow development gap Invest in People Narrow digital divide KRA - 1 KRA - 2 KRA - 3 KRA - 4 KRA - 5 KRA - 6 China-AUN Scholarship AUN Policy Level AUN Student Exchange ACTS AUN-QA IAI AUNIP Distinguished Scholar Programme Initiative for ASEAN Integration AUNILO Collaborative Research AUN-HREN AUN/SEED-Net International College Student Programme ASEAN Youth Cultural Forum Academic Conference Special Taskforce Education Forum & Young Speaker Contest ASEAN Studies AGBEP AUN With strong concrete foundation, we shall never stop serving our stakeholders and help building a strong ASEAN Community est. since 1995
กิจกรรมภายใต้เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน เพื่อรองรับการเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกษา
กิจกรรมภายใต้เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน เพื่อรองรับการเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกษา การสร้างระบบประกันคุณภาพการศึกษาในอาเซียน AUN Quality Assurance – AUN-QA การประชุมคณะกรรมการอำนวยการเครือข่ายมหาวิทยาลัย อาเซียนครั้งที่ 4 ปี 2541 เพื่อสร้างกลไกการประกันคุณภาพและมาตรฐานอุดมศึกษาของ มหาวิทยาลัยสมาชิกให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ริเริ่ม วัตถุประสงค์
กิจกรรมภายใต้เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน เพื่อรองรับการเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกษา สร้างระบบประกันคุณภาพการศึกษาในภูมิภาค
กิจกรรมภายใต้เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน เพื่อรองรับการเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกษา สร้างระบบประกันคุณภาพการศึกษาในภูมิภาค
กิจกรรมภายใต้เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน เพื่อรองรับการเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกษา ริเริ่มจัดทำระบบถ่ายโอนหน่วยกิตระดับภูมิภาค (ASEAN Credit Transfer System Pilot Project – ACTS) วัตถุประสงค์ เพื่อกระชับความร่วมมือด้านการอุดมศึกษาในภูมิภาค และส่งเสริมการเคลื่อนย้ายของนักศึกษาระหว่างสถาบันอุดมศึกษาในอาเซียน โดยให้นักศึกษาสามารถเทียบโอนหน่วยกิตระหว่างสถาบันได้
กิจกรรมภายใต้เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน เพื่อรองรับการเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกษา ริเริ่มจัดทำระบบถ่ายโอนหน่วยกิตระดับภูมิภาค (ASEAN Credit Transfer System Pilot Project – ACTS) ระยะเวลาดำเนินงาน 2554-2556: ทดลองระบบกับมหาวิทยาลัยสมาชิก 2558: เริ่มปรับใช้กับมหาวิทยาลัยที่ไม่ใช่สมาชิก ปัจจุบันAUN ร่วมกับสำนักเลขานุการ ACTSกำลังอยู่ระหว่างปรับปรุงฐานข้อมูลออนไลน์ เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับนักศึกษาในการสืบค้นข้อมูลหลักสูตรและวิชาเรียนที่สนใจในระหว่างมหาวิทยาลัยสมาชิก
การสร้างความแข็งแกร่งทางการอุดมศึกษาในภูมิภาค เพื่อการส่งเสริมและรองรับการเคลื่อนย้ายนักศึกษา สรุปผลการประชุม ASEAN+3 Heads of International Relations Offices’ Meeting 2553 Student & Staff mobility
การสร้างความแข็งแกร่งทางการอุดมศึกษาในภูมิภาค เพื่อการส่งเสริมและรองรับการเคลื่อนย้ายนักศึกษา สรุปผลการประชุม ASEAN+3 Heads of International Relations Offices’ Meeting 2553 สรุปปัจจัย 7 สาขา • 1. ข้อจำกัดด้านข้อมูลข่าวสาร • การประสานงานกับราชการขาดประสิทธิภาพ • ขาดข้อมูลข่าวสารด้านทุนการศึกษาและโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา • หลักสูตรการศึกษาไม่มีรูปแบบที่ชัดเจน • ขาดกลไกเชื่อมโยงการทำงานวิจัยกับประเทศคู่เจรจา ข้อเสนอแนะ • เชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารผ่านระบบICT • พัฒนาฐานข้อมูลหลักสูตรการเรียนการสอน • จัดทำการสำรวจข้อูมลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • สร้างความตระหนักในระหว่างมหาวิทยาลัยถึงความสำคัญของการเคลื่อนย้ายบุคลากรทางการศึกษาในภูมิภาค
การสร้างความแข็งแกร่งทางการอุดมศึกษาในภูมิภาคการสร้างความแข็งแกร่งทางการอุดมศึกษาในภูมิภาค สรุปปัจจัย 7 สาขา • 2. ข้อจำกัดด้านคุณภาพ • คุณภาพของกิจกรรมการแลกเปลี่ยนบุคลากรทางการศึกษา • การขาดมาตรฐานร่วมระหว่างสถาบันต้นสังกัด (sending) และสถาบันเจ้าภาพ (receiving) ข้อเสนอแนะ • สนับสนุนการใช้ระบบประกันคุณภาพAUN-QA ในระหว่างสถาบันอุดมศึกษา • สนับสนุนการแลกเปลี่ยนบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพ (มีความเชี่ยวชาญ/ เป็นที่รู้จักในระดับภูมิภาค) เพื่อยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนระหว่างสถาบัน • จัดหลักสูตรการสอนร่วมระหว่างสถาบัน
การสร้างความแข็งแกร่งทางการอุดมศึกษาในภูมิภาคการสร้างความแข็งแกร่งทางการอุดมศึกษาในภูมิภาค สรุปปัจจัย 7 สาขา • 3. ข้อจำกัดด้านศักยภาพ • อุปสรรคทางภาษา • ขาดการพัฒนาหลักสูตรภาษาอังกฤษ ข้อเสนอแนะ • ส่งเสริมการใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการทำงาน • ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาอังกฤษในสถาบันเจ้าภาพ • จัดทำหลักสูตรภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
การสร้างความแข็งแกร่งทางการอุดมศึกษาในภูมิภาคการสร้างความแข็งแกร่งทางการอุดมศึกษาในภูมิภาค สรุปปัจจัย 7 สาขา • 4. ข้อจำกัดด้านทัศนะคติ • มุ่งความสนใจไปที่ประเทศตะวันตก • นักศึกษาไม่สนใจแลกเปลี่ยนในประเทศ/สถาบันที่ไม่เป็นที่นิยม • ขาดแรงจูงใจ เช่น การประกันการจ้างงาน • ปัจจัยส่วนตัว (ความกังวลของครอบครัว/ความแตกต่างทางวัฒนธรรมและสภาพความเป็นอยู่/ความล่าช้าในการจบการศึกษา) ข้อเสนอแนะ • สร้างความเข้าใจร่วมผ่านกิจกรรมสัญจร การประชุม สัมมนา เป็นต้น • สร้างความน่าสนใจจากจุดแข็งของสถาบันผ่านโครงการภาคฤดูร้อนและหลักสูตรระยะสั้น • โครงการนักศึกษาฝึกงาน • ร่วมแบ่งปันประสบการณ์และความสำเร็จจากศิษย์เก่า • สร้างแรงจูงใจผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เช่น Facebook, Twitter
การสร้างความแข็งแกร่งทางการอุดมศึกษาในภูมิภาคการสร้างความแข็งแกร่งทางการอุดมศึกษาในภูมิภาค สรุปปัจจัย 7 สาขา • 5. ข้อจำกัดด้านระบบ • ความแตกต่างของปฏิทินการศึกษา • การยอมรับการเทียบโอนหน่วยกิต • ระบบและขั้นตอนการอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนบุคลากรขาดประสิทธิภาพ ข้อเสนอแนะ • สนับสนุนการเทียบโอนหน่วยกิตผ่านACTS • สร้างระบบการยอมรับปริญญาบัตรร่วมระหว่างสถาบัน • ปรับปฏิทินการศึกษาให้สอดคล้องกัน โดยเริ่มจากหลักสูตรนานาชาติ • พัฒนาหลักสูตร e-learning เพื่อส่งเสริมการศึกษาข้ามพรมแดน • ส่งเสริมหลักสูตรภาคฤดูร้อน หลักสูตรระยะสั้น และการศึกษาดูงานระหว่างสถาบัน
การสร้างความแข็งแกร่งทางการอุดมศึกษาในภูมิภาคการสร้างความแข็งแกร่งทางการอุดมศึกษาในภูมิภาค สรุปปัจจัย 7 สาขา • 6. ข้อจำกัดด้านงบประมาณ • ค่าครองชีพในเมืองใหญ่ • ทุนการศึกษาไม่เพียงพอต่อความต้องการ • มหาวิทยาลัยต้นสังกัดไม่สามารถให้ความสนับสนุนด้านงบประมาณกับนักศึกษา • ขาดการสนับสนุนจากภาครัฐ • ระบบการบริหารจัดการที่พักในมหาวทิยาลัยไม่มีประสิทธิภาพ ข้อเสนอแนะ • หาความสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก • ให้ข้อมูลแหล่งทุนที่น่าสนใจและเชื่อถือได้ • หาผู้สนับสนุนที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร/ สาขานั้นๆ เช่น ธุรกิจโรงแรมเพื่อสนับสนุนหลักสูตรการท่องเที่ยวเพื่อสิ่งแวดล้อม/ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์/ วิศวกรรมศาสตร์/วิทยาศาสตร์การแพทย์/ ศาสตร์ด้านป้องกันภัยพิบัติจากแผ่นดินไหว เป็นต้น
การสร้างความแข็งแกร่งทางการอุดมศึกษาในภูมิภาคการสร้างความแข็งแกร่งทางการอุดมศึกษาในภูมิภาค สรุปปัจจัย 7 สาขา • 7. ข้อจำกัดจากปัจจัยภายนอก • ใบรับรองการทำงานและวีซ่า • สภาพภูมิอากาศ • สวัสดิการและความแตกต่างทางวัฒนธรรม เช่น อาหาร การแต่งกาย เป็นต้น • ข้อผูกพันของทุนการศึกษา ข้อเสนอแนะ • ประสานงานอย่างใกล้ชิดกับภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • ยื่นเอกสารขออนุมัติเดินทางผ่านระบบออนไลน์ • จัดตั้งหน่วยงานให้คำปรึกษาในมหาวิทยาลัยต้นสังกัดและมหาวิทยาลัยเจ้าภาพ • ให้ AUN ทำหน้าที่เป็นผู้ประสานงานกลางในการอำนวยความสะดวกให้กับนักศึกษาและบุคลากรในโครงการแลกเปลี่ยนต่างๆ • สร้างเครือข่ายการให้ความคุ้มครองแก่บุคลากรที่ร่วมโครงการแลกเปลี่ยน
Thankyou terima kasih or kun kop jai kyei zu tin ba de salamat po kop khun cam on <www.aunsec.org>