1 / 31

คำยืมจากต่างประเทศ

คำยืมจากต่างประเทศ. การยืมภาษา. คือ ปรากฏการณ์ที่ภาษาหนึ่งยืมตัวอักษร เสียง ความหมาย หน่วยคำ กฎเกณฑ์ทางไวยากรณ์ ฯลฯ จากภาษาอื่นมาใช้ คำที่รับมาจากภาษาอื่น เรียกว่า คำยืม ภาษาถิ่น หรือภาษาโบราณ เรียกว่า ภาษาผู้ให้

Download Presentation

คำยืมจากต่างประเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คำยืมจากต่างประเทศ

  2. การยืมภาษา คือ ปรากฏการณ์ที่ภาษาหนึ่งยืมตัวอักษร เสียง ความหมาย หน่วยคำ กฎเกณฑ์ทางไวยากรณ์ ฯลฯ จากภาษาอื่นมาใช้ คำที่รับมาจากภาษาอื่น เรียกว่า คำยืม ภาษาถิ่น หรือภาษาโบราณ เรียกว่า ภาษาผู้ให้ ภาษาที่ เป็นผู้ยืม เรียกว่า ภาษาผู้รับ

  3. เหตุผลที่ทำให้เกิดการยืมภาษาเหตุผลที่ทำให้เกิดการยืมภาษา 1. เหตุผลด้านความจำเป็น 2. เหตุผลด้านจิตวิทยา • การยืมคำศัพท์พื้นฐาน • การยืมคำที่มีศักดิ์สูง • การยืมมาใช้เป็นศัพท์วรรณคดี • การยืมเพื่อแสดงความรู้

  4. การยืมภาษา คำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต คำที่มาจากภาษาญี่ปุ่น คำที่มาจากภาษาจีน คำที่มาจากภาษาเขมร คำที่มาจากภาษาพม่า คำที่มาจากภาษาอังกฤษ คำที่มาจากชวา-มลายู คำที่มาจากภาษาฝรั่งเศส

  5. คำที่มาจากภาษาบาลี สันสกฤต • ภาษาบาลีมาทางพระพุทธศาสนา • ภาษาสันสกฤตเรารับมาทางศาสนาพราหมณ์ ทางวรรณคดี และศาสตร์อื่นๆ

  6. หลักสังเกตคำที่มาจากภาษาบาลีหลักสังเกตคำที่มาจากภาษาบาลี 1. ภาษาบาลีมีสระอยู่ 8 เสียง คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ 2. พยัญชนะมี 33 เสียงแบ่งเป็นพยัญชนะวรรคตาม ฐานที่เกิด 4. ภาษาบาลี นิยมใช้ ฬ เช่น อาสาฬหบูชา จุฬามณี 5. คำที่มี ริ ระหว่างคำ เช่น กริยา ปรินิพพาน

  7. หลักสังเกตคำที่มาจากภาษาบาลีหลักสังเกตคำที่มาจากภาษาบาลี

  8. หลักสังเกตคำที่มาจากภาษาสันสกฤตหลักสังเกตคำที่มาจากภาษาสันสกฤต • สระในภาษาสันสกฤตมี 14 เสียง เพิ่มจากภาษาบาลี 6 เสียงคือ ฤ ฤา ฦ ฦา ไอ เอา เช่นคำว่า คฤหาสน์ ทฤษฎี พฤษภาคม 2. พยัญชนะ ในภาษาสันสกฤต มี 35 เสียง เพิ่มจาก ภาษาบาลี 2 เสียงคือ ศ ษ 3. คำที่มี รร (รอหัน)

  9. หลักสังเกตคำที่มาจากภาษาสันสกฤตหลักสังเกตคำที่มาจากภาษาสันสกฤต 4. คำใดที่มีพยัญชนะเสียงควบกล้ำ เช่นคำว่า ปรัชญา มัธยัสถ์ กษัตริย์ 5. ภาษาสันสกฤตนิยมใช้ ฑ หรือ ฒ ส่วนภาษาบาลี ใช้ ฬ เช่นคำว่า จุฬามณี (บาลี) จุฑามณี (สันสกฤต) จุฬามณี (ไทยใช้)

  10. หลักสังเกตคำที่มาจากภาษาสันสกฤตหลักสังเกตคำที่มาจากภาษาสันสกฤต 6. คำที่ประสมด้วยสระไอ ในภาษาสันสกฤต เมื่อเป็นภาษาไทยจะแผลงเป็นสระแอ เช่นคำว่า ไวทฺย = แพทย์ (หมอรักษาโรค) 7. คำไทยที่ลงท้ายด้วยเคราะห์ แผลงมาจากคำว่า ครฺห ในสันสกฤต

  11. คำที่มาจากภาษาจีน 1. ชื่ออาหาร ซาลาเปา ก๋วยเตี๋ยว เฉาก๊วย

  12. คำที่มาจากภาษาจีน คำที่มาจากภาษาจีน 2. ชื่อผัก ผลไม้ ดอกไม้ คะน้า บ๊วย โป๊ยเซียน

  13. คำที่มาจากภาษาจีน คำที่มาจากภาษาจีน 4. ชื่อญาติ หมวย อาแปะ ตี๋

  14. คำที่มาจากภาษาเขมร ส่วนมากมักเป็นคำโดด แบ่งเป็น • คำยืมภาษาเขมรที่เป็นคำเดียวและแผลงไม่ได้ เช่น กระดาน กระโดง กระท่อม ขลา ( เสือ ) เชิง ( เท้า , ตีน)

  15. คำที่มาจากภาษาเขมร 2. คำยืมภาษาเขมรที่เป็นคำแผลง 2.1 ยืมแต่คำเดิม เช่น กรอง เจียน โฉด ทูน บัง เวียน 2.2 ยืมแต่คำที่แผลงแล้ว เช่น กังวล บังเกิด ผจัญ แผนก 2.3 ยืมทั้งคำเดิมและคำแผลงเช่น เกิด แผลงเป็น กำเนิด ฉัน แผลงเป็น จังหัน เฉพาะ แผลงเป็น จำเพาะ เดิน แผลงเป็น ดำเนิน บวช แผลงเป็น ผนวช

  16. ลักษณะคำภาษาเขมรในภาษาไทย ลักษณะคำภาษาเขมรในภาษาไทย 1. ใช้ตัวสะกด ที่มีพยัญชนะ จ - ร – ล – ญ เป็นตัวสะกด เช่น ดุจ เสด็จ เจริญ 2. เขียนพยัญชนะต้น 2 ตัว เรียงกันแต่ไม่ใช่พยัญชนะควบกล้ำ เช่น ขนุน ออกเสียง ขะ– หนุน 3. ส่วนใหญ่ไม่ใช้เครื่องหมายวรรณยุกต์ เช่น สรง ออกเสียง สง

  17. คำที่มาจากภาษาอังกฤษ 1. เป็นคำหลายพยางค์เมื่อไทยยืมมาใช้จึงทำให้ภาษาไทยมีคำหลายพยางค์มากขึ้น เช่น ดรัมเมเยอร์ ไวโอลิน

  18. คำที่มาจากภาษาอังกฤษ คำที่มาจากภาษาอังกฤษ 2. ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปทางไวยากรณ์ คนไทยยืมมาใช้โดย ไม่ได้คำนึงถึงชนิดและหน้าที่ของคำในภาษาอังกฤษ เช่น

  19. คำที่มาจากภาษาอังกฤษ คำที่มาจากภาษาอังกฤษ 1. ศัพท์วิชาการ ออกซิเจน กลูโคส

  20. คำที่มาจากภาษาอังกฤษ คำที่มาจากภาษาอังกฤษ 2. คำที่เกี่ยวกับอาหาร ผลไม้ และเครื่องดื่ม คุกกี้ กาแฟ แอปเปิ้ล

  21. คำที่มาจากภาษาอังกฤษ คำที่มาจากภาษาอังกฤษ 3. คำที่เกี่ยวกับกีฬาและเครื่องดนตรี ฟุตบอล เปียโน

  22. คำที่มาจากภาษาชวา-มลายูคำที่มาจากภาษาชวา-มลายู 1. เป็นคำ 2 พยางค์ คำพยางค์เดียวมีน้อยมาก เช่น ดาหลัง (คนเชิดหนัง) โนรี ( นกแก้ว) 2. ไม่มีเสียงพยางค์ควบกล้ำ 3. มีการเติมพยางค์หน้า และเติมหลัง เพื่อทำให้เกิดคำใหม่

  23. การใช้คำยืมภาษาชวา – มลายู คำที่มาจากภาษาชวา-มลายู 1. คำที่หมายถึงพืช มังคุด กระดังงา ทุเรียน

  24. การใช้คำยืมภาษาชวา – มลายู คำที่มาจากภาษาชวา-มลายู 2. คำที่หมายถึงสัตว์ โลมา อุรังอุตัง

  25. การใช้คำยืมภาษาชวา – มลายู คำที่มาจากภาษาชวา-มลายู 3. คำที่หมายถึงสิ่งของ กริช อังกะลุง

  26. การใช้คำยืมภาษาชวา – มลายู คำที่มาจากภาษาชวา-มลายู 4. คำที่หมายถึงสถานที่ ภูเก็ต มัสยิด

  27. คำที่มาจากภาษาฝรั่งเศสคำที่มาจากภาษาฝรั่งเศส คูปองความหมายบัตรหรือตั๋ว ครัวซอง ความหมายขนมปังประเภทหนึ่ง โชเฟอร์ ความหมายคนขับรถยนต์ บาทหลวงความหมายนักบวชศาสนาคริสต์ คาเฟอีน ความหมายสารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง บุฟเฟต์ ความหมาย อาหารที่บริการตนเอง

  28. คำที่มาจากภาษาญี่ปุ่นคำที่มาจากภาษาญี่ปุ่น 1. ชื่ออาหาร ซูชิ วาซาบิ สุกี้ยากี้

  29. คำที่มาจากภาษาญี่ปุ่นคำที่มาจากภาษาญี่ปุ่น 2. ชื่อกีฬา 3. คำอื่นๆ เช่น กิโมโน สึนามิ คาราโอเกะ ซาโยนาระ

  30. คำที่มาจากภาษาพม่า กะปิ ( งาปิ) ความหมาย ของเค็มทำจากกุ้งหมักเกลือโขลก เพกา ความหมาย ชื่อต้นไม้ มีฝักแบน ต้มสุกกินได้ จวน ความหมาย ที่อยู่ของเจ้าเมือง ส่วย ความหมาย การเก็บภาษีอากรในสมัยโบราณ เชลย ความหมาย ผู้ที่ถูกข้าศึกจับตัวไว้

  31. สวัสดี

More Related