200 likes | 301 Views
การบริหารจัดการทรัพยากรในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ. วันที่ 27 กรกฎาคม 2554 นิพา ศรีช้าง. ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่. 1. ประชากร จำนวน และลักษณะของกลุ่มอายุต่างๆ 2. ข้อมูลด้านสุขภาพของประชากรในพื้นที่ 3. วัฒนธรรม วิถีของท้องถิ่น กิจกรรมประจำปีต่างๆ
E N D
การบริหารจัดการทรัพยากรในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อการบริหารจัดการทรัพยากรในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ วันที่ 27 กรกฎาคม 2554 นิพา ศรีช้าง
ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ 1. ประชากร จำนวน และลักษณะของกลุ่มอายุต่างๆ 2. ข้อมูลด้านสุขภาพของประชากรในพื้นที่ 3. วัฒนธรรม วิถีของท้องถิ่น กิจกรรมประจำปีต่างๆ 4. สิ่งแวดล้อมภายในพื้นที่ 5. หน่วยงานและองค์กรที่อยู่ในพื้นที่
เปรียบเทียบความชุกของปัจจัยเสี่ยงจากการสำรวจสภาวะสุขภาพประชาชนไทยครั้งที่ 3 และครั้งที่ 4
เปรียบเทียบความชุกของปัจจัยเสี่ยงและโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป จำแนกตามภูมิภาค จากการสำรวจปี 2552
เปรียบเทียบร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการวินิจฉัยรักษาและควบคุมได้ จากการสำรวจปี 2547 และ ปี 2552 25472552 21.4% 22.0% รู้ตัวว่าเป็นโรค 28.6% 49.7% 8.6% 20.9% รักษาและควบคุมได้ การสำรวจ NHESครั้งที่ 4
เปรียบเทียบร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการวินิจฉัย รักษาและควบคุมได้ จาการสำรวจปี 2547 และ 2552 25472552 6.7% 6.9% 43.4% รู้ตัวว่าเป็นโรค 68.8% 12.2% 28.5% รักษาและควบคุมได้ การสำรวจ NHESครั้งที่ 4
ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการวินิจฉัย รักษาและควบคุมได้ ทั้งประเทศภาคกลาง 24.5% 21.4% รู้ตัวว่าเป็นโรค 49.7% 48.4% 20.9% 21.0% รักษาและควบคุมได้ การสำรวจ NHESครั้งที่ 4
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการวินิจฉัย รักษาและควบคุมได้ ทั้งประเทศภาคกลาง 6.9% 7.6% 68.8% รู้ตัวว่าเป็นโรค 61.1% 28.5% 22.6% รักษาและควบคุมได้ การสำรวจ NHESครั้งที่ 4
การดำเนินงานประกอบด้วยขั้นตอนการดำเนินงานประกอบด้วยขั้นตอน • การวิเคราะห์ความต้องการ และปัญหาในพื้นที่ • กำหนดวัตถุประสงค์ และเป้าหมายร่วมกันในการดำเนินงาน • วางแผน กำหนดแนวทางร่วมกัน ในการนำไปสู่ การบรรลุเป้าหมายของการดำเนินงาน รวมทั้งการวางแผนประเมินผล • ระบุ เลือกทรัพยากร ที่ใช้ในการดำเนินงาน • กำหนดขั้นตอนการปฏิบัติ ระยะเวลาในการดำเนินการ • ลงมือปฏิบัติตามแผน พร้อมทั้งการติดตาม ประเมินผลของการดำเนินงาน • สรุปผลการดำเนินงาน และสะท้อนข้อมูลย้อนกลับไปยังเครือข่าย
ถอดบทเรียน • การดำเนินงาน ประสบการณ์ • บอกปัจจัยความสำเร็จ ปัจจัยที่เอื้อต่อการดำเนินงานลดเสี่ยง/ปัญหา • แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง/ความยั่งยืนของการดำเนินงานลดเสี่ยง หรือปัญหาในพื้นที่
การประเมินคุณภาพการดูแลผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูง ของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและสังกัดกรุงเทพมหานคร ปี 2553 ความดันโลหิตสูงเบาหวาน 29,262 ราย 7,012 ราย FBS 70-130 mg/dl = 39.0% BP<140/90 mmHg =62.2% รักษาและควบคุมได้ HbA1c =30.3%
ยุทธศาสตร์อำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนยุทธศาสตร์อำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” หมายถึง อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของพื้นที่ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลทันสถานการณ์”
คุณลักษณะของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนคุณลักษณะของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน • มีคณะกรรมการควบคุมโรคระดับอำเภอ ที่มาจากทั้ง ๓ ภาคส่วน ได้แก่ - ภาครัฐ (รพ. / สสอ. นายอำเภอ) - ภาคท้องถิ่น (อปท. ภายในอำเภอ) - ภาคประชาชน (อสม. / ผู้นำชุมชน 2. มีระบบข้อมูลทางด้านระบาดวิทยาที่ดี สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ 3. มีเป้าหมายและแผนงานควบคุมป้องกันโรคและภัยสุขภาพทั้งภาวะปกติ และภาวะฉุกเฉิน โดยสอดคล้องกับปัญหาของพื้นที่ รวมถึง แผนการ ติดตามผลการปฏิบัติงาน
คุณลักษณะของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนคุณลักษณะของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน 4. มีการระดมทรัพยากร จากภาคส่วนต่างๆ เช่น องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น กองทุนสุขภาพชุมชน ภาคเอกชน อื่นๆ 5. มีผลสำเร็จ ของการดำเนินงานควบคุมโรค สอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่ ได้แก่ภาวะความดันโลหิตสูง เบาหวาน ภาวะอ้วน อัมพฤกษ์ อัมพาต หัวใจขาดเลือด ฯลฯ
การป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ เป้าหมายหลัก • ส่งเสริมสุขภาพ ลดจำนวนกลุ่มเสี่ยง • ลดจำนวนผู้เป็นโรครายใหม่ โดยมุ่งเน้นจัดการกลุ่มเสี่ยง • ลดจำนวนผู้มีภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (ตา ไต เท้า ไตวาย หลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดสมอง ) • ลดจำนวนผู้เสียชีวิต
แนวทางการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อแนวทางการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ ๑. การดำเนินการในระดับประชากร (Population approach) ได้แก่ - ชุมชนลดเสี่ยงลดโรค องค์กรไร้พุง หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - สร้างมาตรการทางสังคม นโยบายสาธารณะ สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อ ๒. การดำเนินงานในกลุ่มเสี่ยงสูง (High risk approach) ได้แก่ - การสนับสนุนทักษะในการปรับเปลี่ยนวิถีการดำรงชีวิต - บริการข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ
ตัวอย่าง มาตรการและแนวทางการจัดกิจกรรมในชุมชน • มาตรการทางสังคม เช่น ห้ามดื่มเหล้าในงานบุญ “งานบวช งานศพปลอดเหล้า” งดถวายบุหรี่แด่พระสงฆ์ • การจัดกิจกรรมรณรงค์สื่อสารความเสี่ยงในชุมชน เสียงตามสาย หรือหอกระจายข่าวในชุมชน • การจัดสิ่งแวดล้อม เช่น สถานที่ออกกำลังกาย ไม่ขายเครื่องดื่ม น้ำอัดลม ขนมหวานและกรุบกรอบในโรงเรียน
ภาวะเมแทบอลิกซินโดรม (Metabolic syndrome) มีภาวะอ้วนลงพุง (รอบเอว 90 ในชาย 80 ในหญิง) ความดันโลหิต 130/85 mmHg หรือ เป็นความดันโลหิตสูง Impair Fasting Glucose (FPG 100 mg%) หรือเป็นเบาหวาน Triglyceride 150 mg/dl หรือกินยาลดไขมัน HDL-C 40 mg/dl ในเพศชาย และ 50 mg/dl ในเพศหญิง
ร้อยละของผู้ประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ที่กินผักและผลไม้เพียงพอตามข้อแนะนำ จำแนกตามเพศและภาค