1 / 26

วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง

หน่วยที่ 7. วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง. สาระการเรียนรู้. 1. วงจรไบอัสทรานซิสเตอร์พื้นฐาน 2. การจัดคลาสวงจรขยาย 3. หลักการทำงานของวงจรจูนด์คลาสซี. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง. 1. บอกการจัดวงจรไบอัสทรานซิสเตอร์พื้นฐานได้ 2. บอกหลักการจัดวงจรขยายคลาสต่าง ๆ ได้

feng
Download Presentation

วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยที่ 7 วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง Radio Transmitter and Antenna

  2. สาระการเรียนรู้ 1.วงจรไบอัสทรานซิสเตอร์พื้นฐาน 2.การจัดคลาสวงจรขยาย 3.หลักการทำงานของวงจรจูนด์คลาสซี

  3. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. บอกการจัดวงจรไบอัสทรานซิสเตอร์พื้นฐานได้ 2. บอกหลักการจัดวงจรขยายคลาสต่างๆได้ 3. บอกคุณสมบัติของวงจรขยายคลาสซีได้

  4. หลักการ และ แนวคิด วงจรขยายสัญญาณโดยทั่วไปนั้น จัดว่าเป็นการขยายสัญญาณที่ความถี่ต่ำ หรือ ความถี่ในย่านเสียง ส่วนวงจรขยายความถี่สูง จัดได้ว่าเป็นวงจรขยายในย่านความถี่วิทยุ ซึ่งในเครื่องส่งวิทยุนั้นได้แก่ ภาคขยายบัฟเฟอร์ภาคขยายกำลังปานกลางหรือภาคเอ็กไซเตอร์ โดยวงจรขยายกำลังความถี่สูง เป็นวงจรที่ทำหน้าที่ขยายสัญญาณ ที่มีขนาดของกระแส และ ขนาดของแรงดันสูงๆ เพื่อป้อนให้กับโหลดของวงจรเครื่องส่งวิทยุ

  5. วงจรไบอัสทรานซิสเตอร์วงจรไบอัสทรานซิสเตอร์ 1. วงจรไบอัสคงที่ ( Fixed Bias ) 2. วงจรอีมิตเตอร์สเตบิไลซ์ไบอัส ( Emitter Stabilized Bias ) 3. วงจรไบอัสแบบแบ่งแรงดัน ( Voltage Divider Bias ) 4. วงจรไบอัสแบบป้อนกลับ ( Collector Voltage Feedback Bias )

  6. 1. วงจรไบอัสคงที่ ( Fixed Bias )

  7. 2. วงจรอีมิตเตอร์สเตบิไลซ์ไบอัส ( Emitter Stabilized Bias )

  8. 3. วงจรไบอัสแบบแบ่งแรงดัน ( Voltage Divider Bias )

  9. 4. วงจรไบอัสแบบป้อนกลับ ( Collector Voltage Feedback Bias )

  10. การจัดคลาสวงจรขยาย การจัดคลาส ( Class )หรือระดับ ของวงจรขยายกำลัง จะพิจารณาจาก จุดทำงาน ( Q – Point ) บนเส้นดีซีโหลดไลน์ ( Load Line )

  11. จุดทำงานของทรานซิสเตอร์จุดทำงานของทรานซิสเตอร์ โหลดไลน์ ( Load Line )

  12. จะขอกล่าว เฉพาะ วงจรขยายคลาสซีเท่านั้น

  13. วงจรขยายคลาสซี วงจรขยายคลาสซี เป็นวงจรที่มีประสิทธิภาพสูง แต่ก็มีความผิดเพี้ยนสูงมาก เหมาะสำหรับการขยายสัญญาณในย่านความถี่วิทยุ ( Radio Frequency : RF ) เพราะสามารถที่จะใช้วงจรจูนด์ความถี่ ในการชดเชยความผิดเพี้ยนที่เกิดขึ้นได้ การจัดไบอัสคลาสซีนั้น จะตั้งจุดไบอัสให้เลยจุดคัตออฟ โดยให้จุดไบอัสเลยเส้นโหลดไลน์ออกไป ซึ่งจะทำให้ทรานซิสเตอร์ขยายสัญญาณได้เพียงบางส่วนเท่านั้น

  14. หลักการทำงานเบื้องต้นของวงจรขยายคลาสซีหลักการทำงานเบื้องต้นของวงจรขยายคลาสซี

  15. การทำงานของคลาสซี ( ก ) วงจรขยายคลาสซี ( ข ) แรงดันอินพุตและกระแสเอ๊าต์พุต

  16. การทำงานบนเส้นโหลด

  17. (ก) สัญญาณพัลส์ที่เป็นกระแสคอลเลคเตอร์ (ข) สัญญาณกระแสเอาต์พุตและแรงดันเอาต์พุต

  18. การทำงานร่วมกับวงจรจูนด์( Tuned Circuit Operation ) ความถี่เรโซแนนซ์ของวงจร LC ที่ขนานกัน หาได้จาก

  19. วงจรขยายจูนด์คลาสซี

  20. หลักการทำงานของวงจรจูนด์คลาสซี คือ เมื่อทรานซิสเตอร์มีไบอัสเกิดกระแสไหลได้ในช่วงเวลาสั้น ย่อมจะทำให้เกิดแรงดันไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายชาร์ทเข้าที่ตัวเก็บประจุ จังหวะที่ C ชาร์ทประจุ เมื่อทรานซิสเตอร์อยู่ในสภาวะนำกระแส

  21. เมื่อทรานซิสเตอร์หยุดนำกระแส หรืออยู่ในสภาวะออฟ ( OFF )ดังรูป ( ก ) แรงดันที่เก็บไว้ที่ C จะจ่ายให้กับ L และลดลงเข้าใกล้ศูนย์โวลต์ กระแสจะไหลย้อนกลับทิศทางไปรีชาร์ท ( Recharge )อีกทางหนึ่งของขั้ว C ดังรูป ( ข ) (ก )เมื่อทรานซิสเตอร์OFF (ข )เมื่อทรานซิสเตอร์ยังOFF ในช่วงเวลาถัดไป

  22. เมื่อเวลาผ่านไปจะเกิดการเปลี่ยนค่าแรงดันมาทางลบ และเมื่อ Cคาบประจุหมดแล้ว จะเกิดการคายประจุ ( Discharge )กลับทางดังรูป ( ก ) พร้อมกับการยุบตัวของ L ดังนั้น แรงดันไฟศักย์ลบจึงกลับสู่ 0 โวลต์ และกลับไปเป็นบวก ดังรูป ( ข ) รอช่วงเวลาที่ทรานซิสเตอร์กลับมานำกระแสอีกครั้ง (ก ) เมื่อทรานซิสเตอร์ยัง OFFในช่วงเวลาถัดไป (ข ) เมื่อทรานซิสเตอร์ยัง OFFและรอ ONในช่วงเวลาถัดไป

  23. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปครูและนักเรียนช่วยกันสรุป

  24. สวัสดี

More Related