1 / 40

ปราณีต ศรีศักดา อดีต ผอ.สคบศ กศ.บ.วิทยาลัยวิชาการศึกษา พิษณุโลก M.Ed.(Adm.) U of Baroda

ภาวะ ผู้นำและการส่งเสริมภาวะผู้นำทางวิชาการ วันที่ 16 กรกฎาคม 2555. ปราณีต ศรีศักดา อดีต ผอ.สคบศ กศ.บ.วิทยาลัยวิชาการศึกษา พิษณุโลก M.Ed.(Adm.) U of Baroda Cert.in Ed.Management (UK) Cert.in Ed.Planning (FRANCE) Cert.in Ed.Adm .(CANADA) Cert.in Training of Trainer (AUSTRALIA)

felton
Download Presentation

ปราณีต ศรีศักดา อดีต ผอ.สคบศ กศ.บ.วิทยาลัยวิชาการศึกษา พิษณุโลก M.Ed.(Adm.) U of Baroda

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาวะผู้นำและการส่งเสริมภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำและการส่งเสริมภาวะผู้นำทางวิชาการ วันที่ 16 กรกฎาคม 2555 ปราณีต ศรีศักดา อดีต ผอ.สคบศ กศ.บ.วิทยาลัยวิชาการศึกษา พิษณุโลก M.Ed.(Adm.) U of Baroda Cert.inEd.Management (UK) Cert.inEd.Planning (FRANCE) Cert.inEd.Adm.(CANADA) Cert.in Training of Trainer (AUSTRALIA) Cert.inTEACHeXCELS (PHILIPPINES)

  2. One Vision One Community One Identity

  3. SEAMEO South East Asian Minister of Education Organization Member Countries Brunei Darussalam( Member since 1981 ) Malaysia( Member since 1965 ) Thailand( Member since 1965 ) Myanmar( Member since 1997 ) Timor-Leste( Member since 2006 ) Cambodia( Member since 1968 ) Philippines( Member since 1965 ) Socialist Republic of Vietnam( Member since 1992 ) Indonesia( Member since 1965 ) Lao PDR( Member since 1965 ) Singapore( Member since 1965 )

  4. SEAMEO South East Asian Minister of Education Organization Associate Member Countries Australia( Member since 1973 ) Netherlands( Member since 1993 ) Canada( Member since 1988 ) New Zealand( Member since 1973 ) France( Member since 1973 ) Norway( Member since 2005 ) Germany( Member since 1990 ) Spain( Member since 2007 )

  5. ASEAN Association of South East Asian Nations China PR Japan Korea Australia India New Zealand China PR Japan Korea +6 +3

  6. 3 เสาหลักอาเซียน ประชาคม สังคมและ วัฒนธรรม อาเซียน ASEAN Socio Cultural Community (ASCC) ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน ASEAN Economic Community (AEC) ประชาคม การเมือง และความมั่นคง อาเซียน ASEAN Political and Security Community (APSC) การศึกษา

  7. Competency Framework for Southeast Asian School Principal and Teacher of the 21 st Century ผู้บริหารสถานศึกษา =13 Competencies ต้องปรับปรุง คือ Instructional Transformational Leader ครู = 11 competencies

  8. LEARNTECH ICeXCELS 17 Modules 1 การเน้นเป็นผู้นำด้านวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา 2 การนำหลักสูตรไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพและการเสริมหลักสูตร 3 การสร้างแบบประเมินสมรรถนะก่อนเรียน 4 การมุ่งเน้นที่จุดประสงค์การเรียนรู้ 5 การเตรียม การแก้ไข และการประเมินแผนการเรียนการสอน 6 การจัดกระบวนการเรียนการสอนให้เข้าใจง่ายขึ้น 7 การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน 8 การบูรณาการเรื่องพหุปัญญาและทักษะการคิดชั้นสูง

  9. 9 การใช้เทคโนโลยีเพื่อวัตถุประสงค์ด้านวิชาการ 10 การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้เรียน 11 การวางแผนนิเทศเพื่อการพัฒนา 12 การวางแผนนิเทศเพื่อสร้างความแตกต่าง 13 การวางแผนนิเทศแบบคลินิก 14 การประชุมหลังการนิเทศ 15 การให้คะแนนผลการปฏิบัติงานของครู 16 การเข้าสู่นวัตกรรมด้านวิชาการ 17 การเตรียมแผนการนิเทศการสอน

  10. ความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของไทย ปี 2552 ทั้งหมด 57 ประเทศ ภาพรวม = จากการจัดอันดับสมรรถนะด้านการศึกษาของประเทศไทย โดย IMD ปี 2552 อยู่อันดับที่ 47 ด้านโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา = โดยพิจารณาจาก อัตราการเข้าเรียน และอัตราการไม่รู้หนังสือ โดย IMD ปี 2552 อยู่อันดับที่ 49 ด้านคุณภาพการศึกษา = ระดับประถมศึกษา อยู่อันดับที่ 41 ระดับมัธยมศึกษา อยู่อันดับที่ 52 ระดับอุดมศึกษาอยู่อันดับที่ 43 คณิต – วิทย์ อายุ15 อยู่อันดับที่ 39 ภาษาอังกฤษ อยู่อันดับที่ 51

  11. ความสามารถในการแข่งขันของไทย ปี 2555 ทั้งหมด 59ประเทศ ประเทศไทยเดิมอยู่อันดับที่ 27 แต่ปี 2555 ตกไปอยู่อันดับที่ 30 Malaysia เดิมอันดับที่ 16 ปี 2555 ขึ้นไปอยู่อันดับที่ 14 ด้านที่ต้องปรับปรุง = วิทยาศาสตร์ = การปราบปราบคอรับชั่นล่าช้า = สาธารณูปโภค = แปรเจตนารมย์ไปสู่การปฏิบัติ = การปรองดอง

  12. จุดเด่นการปฏิรูปการศึกษาจุดเด่นการปฏิรูปการศึกษา ญี่ปุ่น = เสริมสร้างคุณลักษณะที่ดี Character Building เกาหลี = ปลูกฝังให้เป็นพลโลก Global Citizen สาธารณรัฐประชาชนจีน = สร้างสังคมที่ดี Well -to -do Society สาธารณรัฐสิงคโปร์ = เสริมสร้างโรงเรียนนักคิด Thinking School มาเลเซีย = เสริมสร้างโรงเรียนก้าวหน้า Smart School

  13. The School Head as a Instructional Transformational Leader and Chief Learning Officer: Building a Learning Community

  14. 2 1 3 5 6 LEADERSHIP CHANGE AND INNOVATION Cultural Based Leadership ภาวะผู้นำบนพื้นฐาน วัฒนธรรมองค์กร Sustainable Leadership การสร้างภาวะผู้นำที่ยั่งยืน Managerial Leadership ภาวะผู้นำด้านการบริหารจัดการ Educational Leadership 4 Distributed Leadership การกระจายภาวะผู้นำ Transformational Leadership ภาวะผู้นำด้านการเปลี่ยนแปลง Instructional Leadership ภาวะผู้นำด้านวิชาการ

  15. Administrator/ Manager Leader VS Instructional Transformational Leadership

  16. Coach Delegation Mentor Advisor Empowerment Consultant

  17. ง่าย ยาก ไม่ทำการบ้าน เพื่อน ร่วมงาน บริการ/ จัดการไม่ได้ ไม่รู้ /รู้ไม่พอ ผู้นำ Coach Mentor Consult/Monitor ไม่ลองทุกเรื่อง Empowerment

  18. ผู้บริหารสถานศึกษา ความคาดหวังของSEAMEO 1 ผู้นำด้านวิชการ เพิ่มบทบาทของครูและนักเรียนในการเรียนการสอน 2 ผู้บริหารหลักสูตรหรือ ที่ปรึกษาหลักสูตร สร้างสังคมการเรียนรู้ 3 ผู้นำการเปลี่ยนแปลงและผู้นำด้านการเรียนรู้

  19. คุณลักษณะบางส่วนของโรง้รียนในฝันคุณลักษณะบางส่วนของโรง้รียนในฝัน Chapman 2002 การออกแบบวิธีสอนเพื่อกระตุ้นให้เกิดการคิดอย่างอิสระ ครูมีความสามารถ มีแรงจูงใจ ได้รับการฝึกฝนมาอย่างดี ออกแบบหลักสูตรได้อย่างเหมาะสม มีอุปกรณ์การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ มีบรรยากาศที่เหมาะสมสำหรับการเรียนรู้ มีระบบการประเมินที่เที่ยงตรงและเชื่อถือได้ มีผู้นำที่ยอดเยี่ยมนิเทศการสอน มีเวลาสำหรับการเรียนการสอนอย่างพอเพียง มีสถานะการเงินที่มั่นคง มีโครงสร้งการบริหารที่มีประสิทธิภาพ

  20. ผู้นำเป็นผู้บริหารหลักสูตร Farris 1996 หลักสูตรมีคุณภาพและสามารถประยุกต์ใช้ได้ บูรณาการหลักสูตรได้ บริหารหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพ ประเมิน เพิ่มเติม และปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัย

  21. รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของKellough and Kellough1996 3 แรงจูงใจภายนอก 4 แผนการเรียนการสอน • 1 ความต้องการ • นักเรียน • สังคม 5 การประเมินผลและการทบทวน 2 ปรัชญาด้านการศึกษา

  22. องค์ประกอบหลักของหลักสูตรองค์ประกอบหลักของหลักสูตร เนื้อหา การเสริมหลักสูตร Curriculum Enrichment 75% วิธีสอน การวัดและประเมินผล 25%

  23. or Formal Education Continuing Education Non-Formal Education Informal Education

  24. ไม่ต้องมี credit เก็บระยะยาวได้ ไม่ต้องสอน/ฝึกเอง Cert. สองหน่วยงาน เครือข่าย สอศ วิทยาลัยชุมชขน สถาบันการเรียนรู้เพื่อชุมชน Formal Ed. Continuing Ed.

  25. สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชนสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน อำเภอบางคณที จังหวัดสมุทรสงคราม ธกส สวทชสถาบันพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ปตท มูลนิธิหมู่บ้าน มูลนิธิสถาบันส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน สร้างผู้นำทางปัญญา ปัญาชาวบ้าน ชีวิตเป็นตัวตั้ง (ไม่ใช่วิชา) เรียนรู้อย่างมีศักดิ์ศรี มีกินมีใช้ในท้องถิ่นตน ตัวชี้วัดความสุข (GDH)

  26. คิดเป็น ประสบการณ์ เรียนรู้ แก้ปัญหาเป็น

  27. Bison & Geese Theory เห็นเป้าหมายและทิศทางเดียวกัน ยอมรับมีแนวคิดเช่นเดียวกับผู้นำ สลับกันเป็นผู้นำ ส่งเสียงให้กำลังใจผู้นำและทีมงาน เพิ่มระยะทางขึ้นอีก 71% เอื้ออาทรอยู่เคียงข้างทั้งในยามเข้มแข็งและยามยาก

  28. ภาพลักษณ์ขององค์กร Intangible Tangible ความมั่นใจ ความรวดเร็ว ความอบอุ่นใจ ความเข้าอกเข้าใจ

  29. ศักยภาพ องค์ความรู้ ยุทธศสาตร์/วิธีการ พลังแรงบันดาลใจ กล้าแสดงออก เป้าหมายชีวิต สื่อสารได้ ความเชื่อมั่น แก้ปัญหาได้ ความรักและศรัทธา

  30. Mind to Learn To Leave a Legacy Spirit Heart To Love Body to Live

  31. Clarify Purpose เป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ Inspire “Trust” Unleash Talent Align Systems ปลดปล่อยศักยภาพบุคลากร ระบบ กระบวนการ

  32. + - ต้องมีวิธีที่จะทำให้ดีขึ้นได้เสมอ นี่คือหนทางเดียวที่ทำได้

  33. ท้อ Problem สู้ Solution

  34. แชมเปี้ยนไม่ได้เกิดในโรงยิม เกิดจากหลายสิ่งหลายอย่างภายใน แรงปรารถนา ความฝัน วิสัยทัศน์ เขาเหล่านั้นต้องมี ทักษะและความมุ่งมั่น ที่สำคัญความมุ่งมั่นต้องเข้มแข็งกว่าทักษะ

  35. You speak…Listen You write…Think You spend..Earn You criticize…Wait You pray…Forgive You quit…Try BEFORE

  36. The Positive Thinker I M P O S S I B L E I’M POSSIBLE

  37. มองให้กว้างไกล มองให้ข้ามพ้นตนเอง มองด้วยความเป็นจริง

  38. Real Self ตัวตนที่แท้จริง ภูมิใจตนเอง/มั่นใจตนเอง ตามความเป็นจริง As if Self สร้างภาพ ความดีพื้นฐาน Basic Goodness ทำความดีเล็กเล็ก ทำความดีบ่อยบ่อย เชื่อว่าคนอื่นดี /เก่ง

  39. สุขกาย:Money Power ซื้อ/จัดหา สุขใจ : ให้ มิตรภาพ ความรัก ช่วยเหลือ เอื้ออาทร ยิ้มแย้มแจ่มใส ทักทาย ชีวิต: อย่าเปรียบเทียบ “ปมในใจ” ชีวิต: เรียบง่าย อย่ามีเงื่อนไข รักตนเอง ก้าวข้ามความกลัว อย่าคาดหวังคนอื่นช่วย

  40. การมองโลกในแง่ดีให้เป็นนิจการมองโลกในแง่ดีให้เป็นนิจ View the World Positively อ.มนตรี ศรไพศาล มองชีวิตทำงานให้สดใส Enjoy your work life happily สร้างทีมงานด้วยรักและพลังใจ Develop teamwork with love and inspiration ปลูกฝังคนไทยให้คิดสร้างสรรค์ดันไทยเจริญ Be creative for the country development

More Related