1 / 19

โครงการสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน มาตรการ “ เปลี่ยนเชื้อเพลิงสำหรับหม้อไอน้ำ ”

โครงการสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน มาตรการ “ เปลี่ยนเชื้อเพลิงสำหรับหม้อไอน้ำ ”. โดย. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. สรุปผลของมาตรการเปลี่ยนเชื้อเพลิงสำหรับหม้อไอน้ำ ที่ มจธ. ตรวจสอบ. ปัญหาที่พบ.

felice
Download Presentation

โครงการสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน มาตรการ “ เปลี่ยนเชื้อเพลิงสำหรับหม้อไอน้ำ ”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงานมาตรการ“เปลี่ยนเชื้อเพลิงสำหรับหม้อไอน้ำ”โครงการสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงานมาตรการ“เปลี่ยนเชื้อเพลิงสำหรับหม้อไอน้ำ” โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

  2. สรุปผลของมาตรการเปลี่ยนเชื้อเพลิงสำหรับหม้อไอน้ำที่ มจธ. ตรวจสอบ

  3. ปัญหาที่พบ • โรงงานขาดเครื่องมือในการตรวจวัดค่าต่างๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ผลประหยัด เช่น มิเตอร์วัดน้ำป้อน มิเตอร์เชื้อเพลิง มิเตอร์ไฟฟ้า หรือบางแห่งมีมิเตอร์ติดตั้ง แต่ติดตั้งในตำแหน่งที่ไม่สามารถนำมาวิเคราะห์ผลประหยัดได้ • การจดบันทึกข้อมูลยังขาดความละเอียด ถูกต้อง และไม่ต่อเนื่อง • โรงงานไม่เข้าใจวิธีการประเมินผลประหยัด มีความรู้สึกว่าซับซ้อนยุ่งยาก • การขอข้อมูลประกอบ เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ผลประหยัด บางอย่างทางโรงงานไม่มีการเก็บไว้ หรือไม่สามารถเปิดเผยได้ ทำให้การวิเคราะห์ผลประหยัดเกิดความคลาดเคลื่อน และขาดความน่าเชื่อถือ • การผลิตและการใช้ไอน้ำค่อนข้างแปรปรวนไม่คงที่ จะทำให้มีผลต่อการวิเคราะห์ผลประหยัด • มีความผิดปกติของระบบ ทำให้ต้องหยุดเดินบ่อย ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการตรวจวัดดังนั้นควรมีการบำรุงรักษาอย่างสม่ำเสมอ

  4. รูปภาพแสดงระบบการผลิตไอน้ำรูปภาพแสดงระบบการผลิตไอน้ำ

  5. หลักการในการวิเคราะห์ผลประหยัดหลักการในการวิเคราะห์ผลประหยัด หลักการ เปรียบเทียบต้นทุนในการผลิตไอน้ำก่อนและหลังเปลี่ยนเชื้อเพลิง จากนั้นนำผลต่างคูณด้วยปริมาณไอน้ำที่ผลิตทั้งปีของปีฐาน เงื่อนไข ช่วงที่ทำการตรวจวัดก่อนและหลังเปลี่ยนเชื้อเพลิง ควรมีลักษณะการผลิตและการใช้ไอน้ำที่ไม่แตกต่างกัน และเป็นตัวแทนของลักษณะการผลิตไอน้ำทั้งปีได้

  6. หลักการในการวิเคราะห์ผลประหยัด (ต่อ) สมการที่ใช้ในการคำนวณผลประหยัด ผลประหยัด (บาท/ปี) = (ต้นทุนในการผลิตไอน้ำก่อนปรับปรุง (บาท/ตันไอน้ำ) - ต้นทุนในการผลิตไอน้ำหลังปรับปรุง (บาท/ตันไอน้ำ) ) x ปริมาณไอน้ำที่ผลิตทั้งปีของปีฐาน (ตันไอน้ำ/ปี)

  7. หลักการในการวิเคราะห์ผลประหยัด (ต่อ) สมการที่ใช้ในการคำนวณผลประหยัด (ต่อ) ต้นทุนในการผลิตไอน้ำ = ต้นทุนด้านเชื้อเพลิง + ต้นทุนด้านไฟฟ้า ต้นทุนด้านเชื้อเพลิง (บาท/ตันไอน้ำ) = ต้นทุนด้านไฟฟ้า (บาท/ตันไอน้ำ) =

  8. หลักการในการวิเคราะห์ผลประหยัด (ต่อ) สมการที่ใช้ในการคำนวณผลประหยัด (ต่อ) ปริมาณไอน้ำที่ผลิตได้ทั้งปี (ตันไอน้ำ/ปี) = ปริมาณไอน้ำที่ผลิตได้ต่อวัน x วันทำงานต่อปี (หรืออาจดูจาก Log Sheet ของหม้อไอน้ำลูกที่ทำการปรับปรุง)

  9. การตรวจวัดข้อมูล • ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ (ตรวจวัดต่อเนื่องประมาณ 7 วันทุกๆชั่วโมง) • ปริมาณไฟฟ้าที่ใช้ (ตรวจวัดต่อเนื่องประมาณ 7 วันทุกๆชั่วโมง) • ปริมาณไอน้ำที่ผลิตได้ และความดันไอน้ำที่ผลิต หรือปริมาณน้ำป้อนเข้าหม้อไอน้ำและปริมาณน้ำ Blow Down และอุณหภูมิน้ำป้อน (ตรวจวัดต่อเนื่องประมาณ 7 วันทุกๆชั่วโมง) • เวลาการ เปิด-ปิด หม้อไอน้ำในแต่ละวัน ที่ทำการตรวจวัด • ปริมาณผลผลิตในแต่ละวันที่ทำการตรวจวัด • ค่า TDS ของ Make Up และน้ำ Blow Down • ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายในของท่อ Blow Down

  10. การตรวจสอบข้อมูลประกอบการตรวจสอบข้อมูลประกอบ • ข้อมูลปริมาณการใช้เชื้อเพลิงก่อนปรับปรุงของหม้อไอน้ำที่การปรับปรุงย้อนหลัง 1 ปีและหลังปรับปรุงเท่าที่มีข้อมูล ===> จาก Log Sheet • ข้อมูลค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิงก่อนปรับปรุงย้อนหลัง 1 ปี และหลังปรับปรุงเท่าที่มีข้อมูล ===> ใบเสร็จค่าเชื้อเพลิง • แผนผังแสดงกระบวนการผลิต และการใช้ไอน้ำในแต่ละขั้นตอนการผลิต • ลักษณะของอุปกรณ์ที่ใช้ไอน้ำ อุณหภูมิที่ต้องการ ความดันไอน้ำที่ต้องการ ลักษณะการใช้ไอน้ำ • อายุการใช้งานของหม้อไอน้ำ และลักษณะการจัดการการเดินหม้อไอน้ำ

  11. มิเตอร์น้ำมันเตา/น้ำมันดีเซลมิเตอร์น้ำมันเตา/น้ำมันดีเซล จดให้ละเอียดทุกหลักทศนิยมและดูหน่วยให้ถูกต้อง หลักหน่วยอ่านค่าได้นำไปแทนตรงเลข 0 ค่าที่อ่านได้6047633.60 l ทศนิยมตำแหน่งที่ 1

  12. มิเตอร์ก๊าซธรรมชาติ (NG) ของ ปตท. จดให้ละเอียดทุกหลักทศนิยม ให้จดบันทึกค่า Vn หรือ Vb ค่าที่อ่านได้25835.50078 m3 ทศนิยมตำแหน่งที่ 1

  13. มิเตอร์ก๊าซธรรมชาติ (NG) หรือ LPG ที่ติดต่างหาก ปกติจะไม่มีค่า Vn หรือ Vb ต้องจดความดันก๊าซและอุณหภูมิเพิ่มเติม เพื่อนำไปคำนวณหา Vn ตามสมการ PnVn/Tn = PV/T Pn = 1 atm Tn = 60oF

  14. ตรวจวัด LPG แต่ไม่มีมิเตอร์ตรวจวัด ใช้การชั่งน้ำหนักถังแก๊สที่ใช้ก่อนเริ่มเปิดหม้อไอน้ำและหลังปิดหม้อไอน้ำเพื่อให้ทราบน้ำหนัก LPG ที่ใช้ในแต่ละวัน หรือใช้วิธีอื่นที่เหมาะสม สะดวก และมีความน่าเชื่อถือ

  15. ตรวจวัดเชื้อเพลิงแข็งตรวจวัดเชื้อเพลิงแข็ง เชื้อเพลิงแข็ง ได้แก่ กะลาปาล์ม แกลบ ไม้ฟืน ถ่านหิน กากอ้อย ซังข้าวโพด เป็นต้น ให้ใช้วิธีการชั่งน้ำหนักก่อนที่จะป้อนเข้าห้องเผาไหม้ หรือวิธีอื่นๆ ที่เหมาะสมในการหาปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ในแต่ละวัน

  16. มิเตอร์น้ำป้อน 54484.2466x m3 414.431m3 จดให้ละเอียดทุกหลักทศนิยม และดูหน่วยให้ถูกต้อง 26300.737x m3 1211204.9 l

  17. มิเตอร์ไอน้ำ ทศนิยมตำแหน่งที่ 1 จดให้ละเอียดทุกหลักทศนิยม และดูหน่วยให้ถูกต้อง

  18. ตรวจวัดไฟฟ้า ตรวจวัดในตำแหน่งที่วัดอุปกรณ์ไฟฟ้าได้ทั้งระบบ ถ้าหากมีมิเตอร์จานหมุนติดอยู่แล้วให้จดค่าต่อเนื่อง 7 วันทุกๆชั่วโมง ให้สอดคล้องกับการจดปริมาณน้ำป้อนและเชื้อเพลิงที่ใช้ (จดค่า CT Ratio ด้วย) หรือใช้เครื่องมือบันทึกค่าพลังงานไฟฟ้าบันทึกต่อเนื่อง 7 วันทุกๆ 15 นาที

  19. The End

More Related