1 / 68

ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ สินลา รัตน์ ประธานกรรมการคุรุสภา

มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา. ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ สินลา รัตน์ ประธานกรรมการคุรุสภา. คุรุสภา ณ โรงแรมเดอะทวินทาวเวอร์ 12 ก.พ.57. เรื่องที่จะคุย. ระบบวิชาชีพครูของไทย มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา การรับรองหลักสูตร มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา เตรียมคนที่ดีที่สุดเข้าสู่วิชาชีพทางการศึกษา

faunus
Download Presentation

ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ สินลา รัตน์ ประธานกรรมการคุรุสภา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษามาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์ ประธานกรรมการคุรุสภา คุรุสภา ณ โรงแรมเดอะทวินทาวเวอร์ 12ก.พ.57

  2. เรื่องที่จะคุย • ระบบวิชาชีพครูของไทย • มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา • การรับรองหลักสูตร • มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา • เตรียมคนที่ดีที่สุดเข้าสู่วิชาชีพทางการศึกษา • ปัญหาของครุศึกษาไทย • สู่ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 : ต้องก้าวให้พ้น กับดักของตะวันตก

  3. ระบบวิชาชีพครูไทย

  4. งานหลักของวิชาชีพ

  5. 7 งาน 7 หน่วย

  6. 7 งาน 7 หน่วย (ต่อ)

  7. ครูที่ครบเกษียณอายุราชการ / ครูแทน

  8. คณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ที่มีวิกฤตสัดส่วนคณาจารย์ต่อนิสิต/นักศึกษามากที่สุด 10 อันดับ ที่มา : รายงานการวิจัยเรื่อง ภาวะวิกฤตและยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์เพื่อปฏิรูปการศึกษาในแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ระยะที่ 9-10 (พ.ศ.2545-2554) ผศ.ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ และคณะ , 2544

  9. จำนวนคณาจารย์คณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ที่จะเกษียณอายุราชการระหว่างปี 2543-2554 จำแนกตามกลุ่มสถาบันวุฒิการศึกษาสูงสุดและตำแหน่งทางวิชาการ ที่มา : รายงานการวิจัยเรื่อง ภาวะวิกฤตและยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์เพื่อปฏิรูปการศึกษาในแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ระยะที่ 9-10 (พ.ศ.2545-2554) ผศ.ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ และคณะ , 2544

  10. มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษามาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา

  11. มาตรฐานความรู้ผู้ประกอบวิชาชีพครูมาตรฐานความรู้ผู้ประกอบวิชาชีพครู • ต้องมีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการศึกษา หรือเทียบเท่าหรือมีคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง โดยมีมาตรฐานความรู้ ดังต่อไปนี้ • ความเป็นครู • ปรัชญาการศึกษา • ภาษาและวัฒนธรรม • จิตวิทยาสำหรับครู • หลักสูตร • การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน • การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ • นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา • การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ • การประกันคุณภาพการศึกษา • คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ

  12. มาตรฐานการปฏิบัติงานผู้ประกอบวิชาชีพครูมาตรฐานการปฏิบัติงานผู้ประกอบวิชาชีพครู • ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเพื่อพัฒนาวิชาชีพครูให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ • ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ โดยคำนึงถึงผลที่จะเกิดแก่ผู้เรียน • มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้เติบโตเต็มตามศักยภาพ • พัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏิบัติได้จริงในชั้นเรียน • พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ • จัดกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์โดย • เน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผู้เรียน • รายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนได้อย่างมีระบบ • ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน • ร่วมมือกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ • ร่วมมือกับผู้อื่นในชุมชนอย่างสร้างสรรค์ • แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา • สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุกสถานการณ์

  13. มาตรฐานความรู้ ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา • ต้องมีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบริหารการศึกษา หรือเทียบเท่าหรือมีคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง โดยมีมาตรฐานความรู้ ดังต่อไปนี้ • การพัฒนาวิชาชีพ • ความเป็นผู้นำทางวิชาการ • การบริหารสถานศึกษา • หลักสูตร การสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ • กิจการและกิจกรรมนักเรียน • การประกันคุณภาพการศึกษา • คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ

  14. มาตรฐานความรู้ ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา • ต้องมีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบริหารการศึกษา หรือเทียบเท่าหรือมีคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง โดยมีมาตรฐานความรู้ ดังต่อไปนี้ • การพัฒนาวิชาชีพ • ความเป็นผู้นำทางวิชาการ • การบริหารการศึกษา • การส่งเสริมคุณภาพการศึกษา • การประกันคุณภาพการศึกษา • คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ

  15. มาตรฐานการปฏิบัติงานผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา • ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเพื่อพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษาให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ • ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ โดยคำนึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นกับการพัฒนาของผู้เรียน บุคลากร และชุมชน • มุ่งมั่นพัฒนาผู้ร่วมงานให้สามารถปฏิบัติงานได้เต็มศักยภาพ • พัฒนาแผนงานขององค์การให้มีคุณภาพสูง สามารถปฏิบัติให้เกิดผลได้จริง • พฒนาและใช้นวัตกรรมการบริหารจนเกิดผลงานที่มีคุณภาพสูงขึ้นเป็นลำดับ • ปฏิบัติงานขององค์การโดยเน้นผลถาวร • ดำเนินการและรายงานผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่างเป็นระบบ • ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี • ร่วมมือกับชุมชนและหน่วยงานอื่นอย่างสร้างสรรค์ • แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา • เป็นผู้นำและสร้างผู้นำทางวิชาการในหน่วยงานของตนได้ • สร้างโอกาสในการพัฒนาได้ทุกสถานการณ์

  16. มาตรฐานความรู้ ผู้ประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ • ต้องมีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาโททางการศึกษา หรือเทียบเท่าหรือมีคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง โดยมีมาตรฐานความรู้ ดังต่อไปนี้ • การพัฒนาวิชาชีพ • การนิเทศการศึกษา • แผนและกิจกรรมการนิเทศ • การพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ • การวิจัยทางการศึกษา • นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา • การประกันคุณภาพการศึกษา • คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ

  17. มาตรฐานการปฏิบัติงาน ผู้ประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ • ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเพื่อพัฒนาการนิเทศการศึกษาเพื่อให้เกิดการพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษาอย่างสม่ำเสมอ • ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมนิเทศการศึกษา โดยคำนึงถึงผลที่จะเกิดแก่ผู้รับการนิเทศ • มุ่งมั่นพัฒนาผู้รับการนิเทศให้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจนเกิดผลต่อการพัฒนาอย่างมีคุณภาพเต็มศักยภาพ • พัฒนาแผนการนิเทศให้มีคุณภาพสูง สามารถปฏิบัติให้เกิดผลได้จริง • พฒนาและใช้นวัตกรรมการนิเทศการศึกษาจนเกิดผลงานที่มีคุณภาพสูงขึ้นเป็นลำดับ • จัดกิจกรรมการนิเทศการศึกษาโดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผู้รับการนิเทศ • ดำเนินการและรายงานผลการนิเทศการศึกษาให้มีคุณภาพสูงได้อย่างเป็นระบบ • ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี • ร่วมพัฒนาผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ • แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา • เป็นผู้นำและสร้างผู้นำทางวิชาการ • สร้างโอกาสในการพัฒนาได้ทุกสถานการณ์

  18. จรรยาบรรณ (1) วิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และศึกษานิเทศก์

  19. จรรยาบรรณ (2) วิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และศึกษานิเทศก์

  20. จรรยาบรรณ (3) • พฤติกรรมที่พึงประสงค์ • ให้คำปรึกษาหรือช่วยเหลือศิษย์และผู้รับบริการด้วยความเมตตากรุณาอย่างเต็มกำลังความสามารถและเสมอภาค • สนับสนุนการดำเนินงนเพื่อปกป้องสิทธิเด็ก เยาวชน และผู้ด้วยโอกาส • ตั้งใจ เสียสละ และอุทิศตนในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อให้ศิษย์และผู้รับบริการได้รับการพัฒนาตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจของแต่ละบุคคล • ส่งเสริมให้ศิษย์และผู้รับบริการสามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองจากสื่ออุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลาย • ให้ศิษย์และผู้รับบริการ มีส่วนร่วมวางแผนการเรียนรู้ และเลือกวิธีการปฏิบัติที่เหมาะสมกับตนเอง • เสริมสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ศิษย์และผู้รับบริการด้วยการรับฟังความคิดเห็นยกย่อง ชมเชย และให้กำลังใจอย่างกัลยาณมิตร

  21. จรรยาบรรณ (4) • พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ • ลงโทษศิษย์อย่างไม่เหมาะสม • ไม่ใส่ใจหรือไม่รับรู้ปัญหาของศิษย์หรือผู้รับบริการ จนเกิดผลเสียหายต่อศิษย์หรือผู้รับบริการ • ดูหมิ่นเหยียดหยามศิษย์หรือผู้รับบริการ • เปิดเผยความลับของศิษย์หรือผู้รับบริการ เป็นผลให้ได้รับความอับอายหรือเสื่อมเสียชื่อเสียง • จูงใจ โน้มน้าว ยุงยงส่งเสริมให้ศิษย์หรือผู้รับบริการปฏิบัติขัดต่อศีลธรรมหรือกฎระเบียบ • ชักชวน ใช้ จ้าง วานศิษย์หรือผู้รับบริการให้จัดซื้อ จัดหาสิ่งเสพติด หรือเข้าไปเกี่ยวข้องกับอบายมุข • เรียกร้องผลตอบแทนจากศิษย์หรือผู้รับบริการในงานตามหน้าที่ที่ต้องให้บริการ

  22. Standards for Teaching Professions

  23. CALIFORNIA Standard 1 : Engaging and Supporting All Students in Learning Standard 2 : Creating and Maintaining Effective Environments for Student Learning Standard 3 : Understanding and Organizing Subject Matter for Student Learning Standard 4 : Planning Instruction and Designing Learning Experiences for All Students Standard 5 : Assessing Students for Learning Standard 6 : Developing as a Professional Educator

  24. RHODE ISLAND (1) Standard 1 : Teachers create learning experiences using a broad base of general knowledge that reflects an understanding of the nature of the communities and world in which we live. Standard 2 : Teachers have a deep content knowledge base sufficient to create learning experiences that reflect an understanding of central concepts, vocabulary, structures, and tools of inquiry of the disciplines/content areas they teach. Standard 3 : Teachers create instructional opportunities that reflect an understanding of how children learn and develop. Standard 4 : Teachers create instructional opportunities that reflect a respect for the diversity of learners and an understanding of how students differ in their approaches to learning. Standard 5 : Teachers create instructional opportunities to encourage all students’ development of critical thinking, problem solving, performance skills, and literacy across content areas. Standard 6 : Teachers create a supportive learning environment that encourages appropriate standards or behavior, positive social interaction, active engagement in learning, and self-motivation.

  25. RHODE ISLAND (2) Standard 7 : Teachers work collaboratively with all school personnel, families and the broader community to create a professional learning community and environment that supports the improvement of teaching, learning and student achievement. Standard 8 : Teachers use effective communication as the vehicle through which students explore, conjecture, discuss, and investigate new ideas. Standard 9 : Teachers use appropriate formal and informal assessment strategies with individuals and groups of students to determine the impact of instruction on learning, to provide feedback, and to plan future instruction. Standard 10 : Teachers reflect on their practice and assume responsibility for their own professional development by actively seeking and participating in opportunities to learn and grow as professionals. Standard 11 : Teachers maintain professional standards guided by legal and ethical principles.

  26. ILLINOIS Standard 1 : Teaching Diverse Students Standard 2 : Content Area and Pedagogical Knowledge Standard 3 : Planning for Differentiated Instruction Standard 4 : Learning Environment Standard 5 : Instructional Delivery Standard 6 : Reading, Writing, and Oral Communication Standard 7 : Assessment Standard 8 : Collaborative Relationships Standard 9 : Professionalism, Leadership, and Advocacy

  27. การรับรองหลักสูตร

  28. ข้อ 3 การรับรองปริญญาหรือประกาศนียบัตร พิจารณาจากมาตรฐาน 3 ด้านดังนี้ • มาตรฐานหลักสูตร • มาตรฐานการผลิต • มาตรฐานบัณฑิต • องค์ประกอบของมาตรฐานและเกณฑ์การรับรองตามวรรคหนึ่ง การขอรับการรับรอง และการติดตามผลการรับรองให้เป็นไปตามรายละเอียดแนบท้ายประกาศนี้ • ข้อ 4 หลักสูตรปริญญา หรือประกาศนียบัตรที่จะเสนอให้คุรุสภารับรองต้องเป็นหลักสูตรที่ได้รับความเห็นชอบหรือได้รับอนุมัติจากสภาสถาบัน • ข้อ 5 สถานที่เปิดสอนหลักสูตรปริญญาหรือประกาศนียบัตรทางการศึกษาต้องได้รับความเห็นชอบหรือได้รับอนุมัติจากสภาสถาบัน

  29. ข้อ 6 ผู้สำเร็จการศึกษาที่ได้รับปริญญาหรือประกาศนียบัตรที่คุรุสภาให้การรับรอง ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์การรับรองในข้อ 3 ต้องผ่านการทดสอบเพื่อขอรับใบอนุญาประกอบวิชาชีพตามที่คุรุสภากำหนด ข้อ 7 สถาบันที่ประสงค์จะขอรับการประเมินเพื่อรับรองปริญญาหรือประกาศนียบัตร ให้ยื่นคำขอเป็นหนังสือพร้อมทั้งจัดส่งเอกสารตามแบบที่คุรุสภากำหนดต่อเลขาธิการก่อนเปิดสอนไม่น้อยกว่า 60 วัน ข้อ 8 ให้คณะกรรมการต่างตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อทำหน้าที่ประเมินเพื่อรับรองประกอบด้วย 1. ประธานอนุกรรมการซึ่งมีความรู้และประสบการณ์ด้านบริหารจัดการการศึกษาและมาตรฐานวิชาชีพ โดยมีตำแหน่งทางวิชาชีไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ หรือดำรงตำแหน่ง หรือเคยดำรงตำแหน่งทางการบริหารในระดับอุดมศึกษาไม่ต่ำกว่าคณบดีหรือเทียบเท่า 2. อนุกรรมการจำนวนไม่น้อยกว่าสี่คน ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิหรือเป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ด้านบริหารจัดการการศึกษา ด้านวิชาการ หรือด้านการนิเทศการศึกษาในระดับอุดมศึกษา 3. อนุกรรมการจากกรรมการคุรุสภา จำนวนไม่เกินสองคน

  30. มาตรฐานการผลิต 1. กระบวนการคัดเลือกนิสิตนักศึกษา (1) มีการกำหนดคุณสมบัติและเกณฑ์การคัดเลือกนิสิต นักศึกษา ที่เน้นการสรรหาผู้ที่มีความรู้ความสามารถสูงเข้าศึกษา (2) มีการคัดเลือกหรือสอบคัดเลือกโดยการสอบข้อเขียนและ / หรือการสอบสัมภาษณ์อย่างเป็นระบบ 2. จำนวนนิสิตนักศึกษา (1) มีการรับนิสิตนักศึกษาตามแผนการรับที่กำหนดไว้ในหลักสูตร และแผนความต้องการกำลังคนในวิชาชีพในระยะยาว (2) มีการรับนิสิตนักศึกษาสอดคล้องกับจำนวนคณาจารย์ ( 1 : 30 / หนึ่งห้องเรียนมีนักศึกษาไม่เกิน 30 คน)

  31. มาตรฐานการผลิต 3. คณาจารย์ (1) คณาจารย์ประจำหลักสูตรมีจำนวนและคุณวุฒิตามเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (2) มีการแต่งตั้งคณาจารย์ที่ปรึกษาสำหรับนิสิตนักศึกษาโดยมีการกำหนดหน้าที่อย่างชัดเจน (3) คณาจารย์ผู้สอนรายวิชาชีพครูมีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาโท หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ หรือมีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่สอนโดยมีประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 10 ปี (4) คณาจารย์ผู้สอนมีจำนวนและคุณวุฒิตามเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

  32. มาตรฐานการผลิต 3. คณาจารย์ (ต่อ) (5) คณาจารย์นิเทศก์มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาโท (กรณีหลักสูตร ป.ตรี) และไม่ต่ำกว่า ป.เอก (ในกรณีหลักสูตร ป.โท/เอก) ในสาขาวิชาที่จะนิเทศ หรือมีประสบการณ์ในการนิเทศมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ในกรณีที่มีประสบการณ์ไม่ได้ตามมาตรฐาน ให้ใช้การนิเทศร่วมกับผู้ที่มีประสบการณ์ตามมาตรฐาน (6) คณาจารย์นิเทศก์มีจำนวนที่เหมาะสม ทั้งนี้ไม่เกิน 1 : 10 (7) ผู้ควบคุมและผู้สอบวิทยานิพนธ์มีจำนวนและคุณวุฒิตามเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (8) ครูพี่เลี้ยงและผู้บริหารพี่เลี้ยง มีคุณวุฒิและมีประสบการณ์ตรงกับการปฏิบัติการสอน หรือการบริหาร

  33. เตรียมคนที่ดีที่สุด เข้าสู่วิชาชีพทางการศึกษา

  34. Framework for Teachers’ Professional Standards The concept of the qualifications of graduates consists of 4 domains at 4 levels as follows: Knowledge is the qualification which stresses on the basic and professional knowledge of each discipline. This knowledge can be divided into the basic level, the advanced level, the proactive level and the excellent level. Thinking is the basic thinking and the ability to analyze, criticize, synthesize and evaluate. This framework puts emphasis on the basic, advanced, proactive and excellent levels as well. Skill The basic skill is the ability to work in one’s profession, and it is a higher level which will be successively advanced, proactive and excellent. Ethics is to have disciplines, responsibility, honesty, devotion and culture and to have ethics as the base and develop higher into the advanced, proactive and excellent levels.

  35. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการเพื่อความเป็นเลิศยุทธศาสตร์การบริหารจัดการเพื่อความเป็นเลิศ • ยุทธศาสตร์การผลิตบัณฑิตเชิงรุก • ยุทธศาสตร์การพัฒนาผลงานที่มีคุณภาพสูง • ยุทธศาสตร์การพัฒนาปัญญาของแผ่นดิน • ยุทธศาสตร์การบริหารแบบมีส่วนร่วมและโปร่งใส • ยุทธศาสตร์การสร้างเครือข่าย • ยุทธศาสตร์การประเมินองค์กร --------------------------------- ที่มา : วิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต ของ ดร.อโนทัย แทนสวัสดิ์ สาขาอุดมศึกษา จุฬาฯ 2553

  36. ความเป็นเลิศของสถาบันครุศึกษาความเป็นเลิศของสถาบันครุศึกษา • มีความมุ่งมั่นและศรัทธาที่จะสร้างครูชั้นเลิศ • มีเป้าหมายในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพเป็นเลิศ • คณาจารย์มีผลงานทางวิชาการอย่างสม่ำเสมอและมีคุณภาพ • มีกระบวนการบริหารที่เน้นผลผลิตเป็นตัวตั้ง • มีการพัฒนานวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ • มีระบบและกระบวนการที่จะตรวจสอบคุณภาพในทุกระบบ • มีความสัมพันธ์และสนองตอบต่อชุมชน

  37. แนวคิดแนวปฏิบัติ • คัดคนเรียนที่เก่งที่สุดไว้ก่อน และบังคับให้ใช้ศักยภาพเต็มที่ (ข้อโต้แย้งคนดีก่อน) • คัดครูของครูที่เก่งไว้ก่อนแล้วให้ทำงานหนัก (แน่นอนดีด้วย) • ต้องให้ครูของครูทำการวิจัยและให้เด็กทำด้วย (เพื่อสร้างดารา) • มีวิจัยใหญ่ของคณะที่คนคิดถึง (1-3 ปี / 1 เรื่อง) • มีตำราและบทความ แนวคิดใหม่เสมอ (เสนอความคิดนอกกรอบด้วย) • มีข้อเสนอหลักๆ ต่อวงการศึกษา (การศึกษาที่ดีที่สุดสำหรับ ประเทศไทย) • อย่าลืมเครือข่าย สังคม และโรงเรียน (อย่าดังคนเดียว)

  38. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์-ผู้ทรงคุณวุฒิยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์-ผู้ทรงคุณวุฒิ • ต้องปฏิรูปคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ให้เข้มแข็ง มีคุณภาพมาตรฐานชั้น แนวหน้า • ต้องปรับเปลี่ยนพันธกิจโดยมุ่งพัฒนาครูมากกว่าการผลิตครูใหม่ และแบ่งหน้าที่ให้ชัดเจนว่าสถาบันใดฝึกครูพื้นฐาน สถาบันใดฝึกครูเฉพาะทาง • ต้องสนัสนุนให้มีความพร้อมทุกปัจจัยอย่างจริงจัง โดยเฉพาะปัจจัยด้านคณาจารย์ เทคโนโลยี และอาคารสถานที่ • คณาจารย์ต้องมีคุณภาพสูงทั้งด้านคุณวุฒิ และความรู้ ความสามารถ ระดับปริญญาโท และปริญญาเอก • ต้องคัดเลือกครูเก่งๆ เช่ น ครูต้นแบบ ครูแห่งชาติ โดยให้ทุนเรียนถึงระดับปริญญาเอกเพื่อเป็นคณาจารย์ • คณาจารย์ต้องมีความพร้อมทั้งด้านกายภาพ จิตภาพ และสติปัญญา พร้อมทั้งต้องทำงานร่วมกับครูในสถานศึกาได้และมีผลงานเป็นที่ยอมรับ ที่มา : รายงานการวิจัยเรื่อง ภาวะวิกฤตและยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์เพื่อปฏิรูปการศึกษาในแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ระยะที่ 9-10 (พ.ศ.2545-2554) ผศ.ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ และคณะ , 2544

  39. ปัญหาของครุศึกษาไทย

  40. Teacher Education (1) : We Have to Have Smart People as Teachers • Teachers worldwide are weak and passive. • ASEAN teachers are not leaders who make changes. • The development of ASEAN teachers must emphasize on being leaders who make changes. • ASEAN teachers must know how to think analytically and synthetically. • ASEAN teachers must teach children to learn by themselves. • ASEAN teachers must arrange a classroom in a new style. • Devotion and honesty are needed in ASEAN society. When smart people are teachers, Education will be better. Obviously, clever people have more chance to teach children to be smarter and the career development will be highly efficient. Future admission of students to study teaching must focus on thinking and intensive entrance examination.

  41. Teacher Education (2) : To Develop Teacher Education Institutions into Excellent Institutions • Set high qualifications of the people who will be teachers • Select smart people to study teaching • Develop strong and relevant curriculums • Have excellent teacher education institutions/ not the second-class institutions • Do research constantly • Move to research Institution • Critically evaluating teacher education Institution If we want an element for producing quality teachers, we must have quality teacher education institutions. Teacher education institutions have to be excellent institutions. “No second-class institution can produce excellent-class people”. If we need excellent teachers, we must have excellent teacher education institutions.

  42. Teacher Education (3) : Seeking for Extensive and Various Cooperation • Teaching profession is social profession • Build up faith that will be accepted by society • Extensively cooperate with various agencies • Be the academic leader in teaching career • The Teachers’ Council shall be the central agency for the development of teaching career • Work with other organizations in mutual benefit Every unit in society should pay attention to teaching profession and help to develop the quality that is relevant to the ASEAN society.

More Related