270 likes | 437 Views
Action on Smoking and heath Foundation/ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่. การแทรกแซงการควบคุมยาสูบ โดยอุตสาหกรรมยาสูบ. ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ เลขาธิการมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ การประชุมวิชาการ “บุหรี่กับสุขภาพแห่งชาติ” ครั้งที่ 11 16 สิงหาคม 2555. อนุสัญญาควบคุมยาสูบฯ.
E N D
Action on Smoking and heath Foundation/มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ การแทรกแซงการควบคุมยาสูบโดยอุตสาหกรรมยาสูบ ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ เลขาธิการมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ การประชุมวิชาการ “บุหรี่กับสุขภาพแห่งชาติ” ครั้งที่ 11 16 สิงหาคม 2555
อนุสัญญาควบคุมยาสูบฯ • ธุรกิจยาสูบมีประวัติการแทรกแซงนโยบายควบคุมยาสูบของประเทศต่าง ๆ มาอย่างยาวนาน • มาตรา 5.3 รัฐภาคีพึงป้องกันการแทรกแซงนโยบายควบคุมยาสูบโดยธุรกิจบุหรี่
มาตรา 5.3 อนุสัญญาควบคุมยาสูบฯ • ประชาสัมพันธ์ให้ทุกภาคส่วนในสังคมรู้ถึงกลยุทธ์ในการแทรกแซงนโยบายของบริษัทบุหรี่ รวมถึงองค์กรบังหน้า ที่เคลื่อนไหวแทนบริษัทบุหรี่ • จำกัดการติดต่อระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐกับผู้แทนบริษัทบุหรี่ กรณีที่จำเป็นต้องมีการติดต่อ ต้องเป็นไปอย่าง โปร่งใส
ห้ามเจ้าหน้าที่รัฐร่วมทำกิจกรรมใด ๆ กับบริษัทบุหรี่ • ห้ามเจ้าหน้าที่รัฐรับการอุดหนุน ของขวัญ ทุนอุปถัมภ์ใด ๆ จากบริษัทบุหรี่ • ออกกฎหมายให้บริษัทบุหรี่ต้องรายงานข้อมูลการทำธุรกิจให้แก่รัฐบาล
ไม่ยอมรับการทำ “กิจกรรมเพื่อสังคม” (CSR) โดยบริษัทบุหรี่ - เปิดโปงวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของการทำ CSR ของ บริษัทบุหรี่ - ไม่รับรอง สนับสนุนร่วมมือการทำ CSR ของบริษัท บุหรี่ - ห้ามประชาสัมพันธ์การทำ CSR โดยบริษัทบุหรี่ - ห้ามบริษัทบุหรี่บริจาคให้แก่สถาบันการศึกษา / นักการเมือง
มาตรา 13 การห้ามการโฆษณา การส่งเสริม การขาย และการอุปถัมภ์โดยธุรกิจ ยาสูบ : รัฐภาคีควรห้ามการทำ CSR โดยบริษัทบุหรี่เนื่องจากเป็นการโฆษณาทางอ้อม
ไม่ให้สิทธิพิเศษแก่บริษัทบุหรี่ไม่ให้สิทธิพิเศษแก่บริษัทบุหรี่ • ปฏิบัติต่อบริษัทบุหรี่แห่งชาติและ บริษัทบุหรี่ข้ามชาติอย่างเท่าเทียมกัน
การแทรกแซงนโยบายสาธารณะโดยบริษัทบุหรี่การแทรกแซงนโยบายสาธารณะโดยบริษัทบุหรี่ • การลอบบี้ (วิ่งเต้น) เพื่อขัดขวาง หน่วงเหนี่ยว นโยบายการควบคุมยาสูบ • การใช้ชาวไร่ยาสูบเป็นเครื่องมือ • การสร้างภาพด้วยการทำ “กิจกรรมเพื่อสังคม”
องค์กรบังหน้าบริษัทบุหรี่องค์กรบังหน้าบริษัทบุหรี่ • สมาคมชาวไร่ยาสูบ • สมาคมผู้ค้ายาสูบ / สถาบันยาสูบ • สมาคมผู้ค้าปลีก • ชมรมนักสูบบุหรี่ไทย • ธุรกิจบันเทิง
ทำไมโรงงานยาสูบ จึงเน้นทำกิจกรรม CSR กับโรงเรียน
บ.ฟิลิป มอริส เปิดตัวโครงการรณรงค์ป้องกันวัยรุ่นไม่ให้สูบบุหรี่ในประเทศไทย “ เรียน รัฐมนตรีสุดารัตน์ ฟิลิป มอริส (ประเทศไทย) มีนโยบายสนับสนุนโครงการแก้ปัญหาการสูบบุหรี่ของเด็ก ๆ เราต้องการแสดงจุดยืน ที่ชัดเจนของบริษัทเราว่า เราไม่ต้องการให้เด็ก ๆ สูบบุหรี่” พอลดิวแมน จูเนียร์. ซีอีโอฟิลิป มอริสประจำประเทศไทย. พ.ศ.2546
“โครงการป้องกันเยาวชนสูบบุหรี่เป็นกลวิธีหนึ่งในการต่อต้านขบวนการรณรงค์ควบคุมการสูบบุหรี่ จะพลิกกลับกระแสขบวนการต่อต้านการสูบบุหรี่ และทำให้เห็นว่าบริษัท ฟิลลิป มอริส เป็นบริษัทบุหรี่ที่มีความรับผิดชอบ” แผนการดำเนินงานของบริษัทฟิลลิป มอริส ออสเตรเลีย พ.ศ.2535
“แรงกดดันที่เพิ่มขึ้นจากกลุ่มพลังต่อต้านการสูบบุหรี่ในลาตินอเมริกา ทำให้มีความจำเป็นต้องศึกษาทางเลือกหลากหลาย เพื่อรับมือกับกระแสการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ที่ส่งผลลบต่อเรา....เราจะสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่อุตสาหกรรมบุหรี่ ด้วยการเปิดตัวโครงการรณรงค์ป้องปรามไม่ให้เยาวชนสูบบุหรี่” บริษัท ฟิลลิป มอริส พ.ศ.2537
“สิ่งที่จะใช้ตัดสินความสำเร็จของโครงการป้องกันไม่ให้เยาวชนสูบบุหรี่ที่เราสนับสนุนได้แก่”“สิ่งที่จะใช้ตัดสินความสำเร็จของโครงการป้องกันไม่ให้เยาวชนสูบบุหรี่ที่เราสนับสนุนได้แก่” • การลดการผ่านกฎหมายที่ส่งผลจำกัดหรือห้ามการขาย และกิจกรรมการตลาดของสินค้าของเรา • การผ่านกฎหมายที่ไม่กระทบต่อธุรกิจของบริษัทบุหรี่ • กระแสสนับสนุนบริษัทของเราที่เข้มแข็งยิ่งขึ้นจากกลุ่มผู้ปกครองและครูต่าง ๆ บริษัท ฟิลลิป มอริส พ.ศ.2534
เอกสารภายในของบริษัทบุหรี่เอกสารภายในของบริษัทบุหรี่ “โครงการป้องกันวัยรุ่นไม่ให้สูบบุหรี่ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างภาพให้แก่บริษัท ไม่ใช่เพื่อป้องกันไม่ให้วัยรุ่นสูบบุหรี่” สถาบันยาสูบปี 2525
สถาบันยาสูบปี 2525 “โครงการป้องกันวัยรุ่นไม่ให้สูบบุหรี่ อาจจะช่วยสกัดกั้นหรือปวิงเวลาออกกฎระเบียบควบคุมอุตสาหกรรมยาสูบเพิ่มเติมได้”
โครงการคืนกำไรแก่สังคม 5 ปี วัตถุประสงค์ - เพื่อสร้างสัมพันธ์ภาพกับภาคส่วนต่าง ๆ ในสังคม และความสำพันธ์กับรับบาล บ.ฟิลิป มอริส
“การระดมพลังในอุตสาหกรรมผลิตใบยาสูบโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาเป็นหนึ่งในจุดต่อสู้ที่มีประสิทธิภาพสองจุดสำหรับการรับมือกับ ข้อเสนอการควบคุมยาสูบขององค์การอนามัยโลก” บริษัท อาร์เจ เรย์โนล์ พ.ศ.2538
“เราได้ช่วยจัดตั้งกลุ่มชาวไร่ยาสูบในหลาย ๆ ประเทศ พลังของชาวไร่ยาสูบได้ช่วยให้อุตสาหกรรมยาสูบมีบทบาทในการทำให้องค์การอาหารและเกษตร (FAO) ไม่มีจุดยืนคัดค้านการปลูกใบยาสูบ....หลายประเทศที่เราได้ร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับชาวไร่ยาสูบ ได้แก่ มาลาวี ซิมบับเว อาร์เจนตินา และประเทศไทย” บริษัท ฟิลลิป มอริส พ.ศ.2528
“เมื่อองค์กรรณรงค์เพื่อการควบคุมยาสูบภาคพื้นเอเชียแปซิฟิค (APACT) จัดประชุมที่เชียงใหม่ เราได้จัดให้มีหน่วยข่าวกรอง เพื่อสืบให้ทราบว่าการประชุมมีการอภิปรายอะไรบ้าง เรายังสามารถบริหารจัดการได้อย่างรอบคอบกับสื่อมวลชนจำนวนมาก ที่รายงานเกี่ยวกับการประชุม” เอกสารภายในบริษัท ฟิลลิป มอริส พ.ศ.2538
ทำไมบริษัทบุหรี่จึงต้อง ทำและประชาสัมพันธ์ การทำ CSR
การสำรวจเรื่อง ภาพลักษณ์การประกอบวิชาชีพ กรณีศึกษาประชาชนอายุ 18-60 ปี กรุงเทพมหานคร เอแบคโพลล์ มกราคม 2552
ความเชื่อถือในกลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพความเชื่อถือในกลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพ สูงสุด แพทย์ / บุคลากรสาธารณสุข ครู ผู้พิพากษา นักวิจัย/วิทยาศาสตร์ .......... .......... นักการเมือง เซลล์แมน ธุรกิจสุรา ธุรกิจยาสูบ ธุรกิจผับ-บาร์ เอแบคโพลล์ มกราคม 2552 ต่ำสุด
อาชีพที่รู้สึกประทับใจมากที่สุดอาชีพที่รู้สึกประทับใจมากที่สุด มากที่สุด น้อยสุด ครู แพทย์ / บุคลากรสาธารณสุข ผู้พิพากษา ทหาร .......... .......... ธุรกิจสุรา ธุรกิจผับ-บาร์ เซลล์แมน ธุรกิจยาสูบ เอแบคโพลล์ มกราคม 2552
อาชีพที่ต้องการทำ (ถ้าเลือกได้) • แพทย์ / พยาบาล / บุลากรสาธารณสุข • ครู / อาจารย์ / นักวิชาการ • ข้าราชการ • นักธุรกิจ / นักลงทุนข้ามชาติ • เซลล์แทน / นายหน้าคนขายประกัน • นักวิเคราะห์/นักวิจารณ์ข่าว • ผู้ประกอบธุรกิจเครื่องดื่มชูกำลัง • ผู้ประกอบธุรกิจบุหรี่ เอแบคโพลล์ มกราคม 2552
การสำรวจความน่าเชื่อถือของธุรกิจ 25 ประเภทในกลุ่มตัวอย่าง 80,000 คน จาก 32 ประเทศ • สินค้าอุปโภค-บริโภค • อุตสาหกรรมอาหาร • อุตสาหกรรมขายปลีกอาหาร • ธุรกิจโทรคมนาคม • ธุรกิจการเงิน • ธุรกิจยาสูบ The Global Regulation Pulse 2010 สูงสุด ต่ำสุด