1 / 56

กระบวนการวิจัยและพัฒนา e-Learning : CAI

กระบวนการวิจัยและพัฒนา e-Learning : CAI. ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข prachyanunn@kmitnb.ac.th http://www.prachyanun.com. E-Learning. WBI : Web-Based Instruction LMS : Learning Management System Moodle A-Tutor Electronic Learning : e-Learning. การออกแบบระบบการเรียนการสอน.

farren
Download Presentation

กระบวนการวิจัยและพัฒนา e-Learning : CAI

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กระบวนการวิจัยและพัฒนา e-Learning: CAI ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข prachyanunn@kmitnb.ac.th http://www.prachyanun.com

  2. E-Learning • WBI : Web-Based Instruction • LMS : Learning Management System • Moodle • A-Tutor • Electronic Learning : e-Learning

  3. การออกแบบระบบการเรียนการสอนการออกแบบระบบการเรียนการสอน • Instructional Design (ID) • ADDIE • การวิเคราะห์ (Analysis) • การออกแบบ (Design) • การพัฒนา (Development) • การนำไปใช้ (Implement) • การประเมินผล (Evaluation)

  4. การวิเคราะห์เนื้อหา(Analysis)การวิเคราะห์เนื้อหา(Analysis) 1. สร้างแผนภูมิระดมสมอง(Brain Storm Chart) 2. สร้างแผนภูมิหัวเรื่องสัมพันธ์(Concept Chart) 3. สร้างแผนภูมิโครงข่ายเนื้อหา(Content Network Chart)

  5. ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ Brain Storm Chart CU ALU Printer CPU Monitor Microphone Plotter Mouse Joystick Speaker Output Unit Input Unit Scanner Projector Keyboard Digital Camera Memory Tape P.Wiparat Secondary Memory Main Memory RAM DVD ROM Floppy Disk ROM CD ROM Hard Disk Permanent Temporary

  6. การวิเคราะห์เนื้อหา(Analysis)การวิเคราะห์เนื้อหา(Analysis) 2. สร้างแผนภูมิหัวเรื่องสัมพันธ์(Concept Chart) • จากแผนภูมิระดมสมองนำมาวิเคราะห์ความถูกต้อง • ตามทฤษฎีหลักการและเหตุผลความสัมพันธ์กันอย่าง • ละเอียดอีกครั้ง อาจมีการตัด-เพิ่มหัวเรื่องตามเหตุผล • และความเหมาะสม

  7. CU ALU Printer CPU Monitor Microphone Plotter Mouse Joystick Speaker Output Unit Input Unit ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ Scanner Projector Keyboard Digital Camera Memory Tape Secondary Memory Main Memory RAM DVD ROM Floppy Disk ROM CD ROM Hard Disk Permanent Temporary Concept Chart P.Wiparat

  8. การวิเคราะห์เนื้อหา(Analysis)การวิเคราะห์เนื้อหา(Analysis) 3. สร้างแผนภูมิโครงข่ายเนื้อหา(Content Network Chart) • จากแผนภูมิหัวเรื่องสัมพันธ์ นำมาเขียนเป็นโครงข่าย • เนื้อหาโดยคำนึงถึงความก่อน-หลัง ความต่อเนื่องหรือ • ขนานกัน ตามหลักการเทคนิคโครงข่าย

  9. ALU 29 13 14 CPU Monitor 31 37 11 12 CU 32 15 Keyboard 4 Printer 5 Mouse MainMemory 33 ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ Ram 2 6 17 19 20 Input Unit Scanner Output Unit Plotter 18 Rom 7 21 Digital Camera 1 3 30 34 8 Floppy Disk Memory Joystick 23 Speaker 24 16 9 Hard Disk 35 Microphone SecondaryMemory 25 10 CD Rom Projector 26 22 36 DVD Rom 27 Tape 28 Content Network Chart

  10. การออกแบบบทเรียน(Design) 4. กำหนดกลวิธีการนำเสนอและวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม(Strategic Presentation Plan And Behavior Objective) 5. สร้างแผนภูมิการนำเสนอในแต่ละหน่วย (Module Presentation Chart)

  11. การออกแบบบทเรียน(Design) 4. กำหนดกลวิธีการนำเสนอและวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (Strategic Presentation Plan And Behavior Objective) • จากแผนภูมิโครงข่ายเนื้อหานำมาพิจารณากลุ่มหัวเรื่องที่สามารถจัด • ไว้ในหน่วยเดียวกันได้ ตีเป็นกรอบๆไว้กำหนดเป็นหน่วยๆ และอันดับไว้ • แล้วเขียนกำกับด้วยวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมจากนั้นนำกรอบหน่วยมา • ลำดับการนำเสนอตามอันดับและความสัมพันธ์แนวเดียวกับโครงข่าย • เนื้อหาซึ่งจะได้เป็นแผนภูมิบทเรียน

  12. หน่วยเรียนที่ 1 หน่วยรับข้อมูล(Input Unit)  วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม รายละเอียดเนื้อหา 1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) 1.1 Keyboard 1.2 Mouse 1.3 Scanner 1.4 Joystick 1.5 Digital Camera 1.6 Microphone 1.1 อธิบายความหมายของอุปกรณ์ ทางด้านอินพุทได้ 1.2 บอกได้ว่าอุปกรณ์ชนิดใดเป็นอุปกรณ์ ทางด้านอินพุท 1.3 เข้าใจหน้าที่การทำงานของอุปกรณ์ อินพุทแต่ละตัว 1.4 อธิบายข้อแตกต่างของการนำอุปกรณ์ อินพุทไปใช้งานได้ 1.5อธิบายข้อแตกต่างระหว่างอุปกรณ์อินพุทแต่ละตัวได้ 1.6สามารถเลือกใช้อุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง

  13. หน่วยเรียนที่ 2 หน่วยประมวลผลกลาง(Central Processing Unit) วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม รายละเอียดเนื้อหา 2. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) 2.1 อธิบายหลักการทำงานของ CPU ได้ 2.2 อธิบายหน้าที่หลักการทำงานของ ALUได้ 2.3 อธิบายหน้าที่หลักการทำงานของ CUได้ 2.1 ALU 2.2 CU

  14. หน่วยเรียนที่ 3 หน่วยความจำ(Memory) วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม รายละเอียดเนื้อหา 3. หน่วยความจำ(Memory) 3.1 Main Memory 3.1.1 Ram 3.1.2 Rom 3.2 Secondary Memory 3.2.1 Floppy Disk 3.2.2 Hard Disk 3.2.3 CD ROM 3.2.4 DVD ROM 3.2.5 Tape 3.1 อธิบายหน้าที่หลักการทำงานของ หน่วยความจำได้ 3.2 สามารถอธิบายได้ว่าอะไรเป็นหน่วย ความจำหลักอะไรเป็นหน่วยความจำสำรอง 3.3 อธิบายหลักการทำงานของอุปกรณ์เก็บ ข้อมูลแต่ละชนิดได้ 3.4   สามารถเลือกใช้อุปกรณ์เก็บข้อมูลแต่ละชนิด ได้อย่างถูกต้อง 3.5 สามารถบอกได้ว่าหน่วยความจำชนิดใดเป็นหน่วย ความจำชั่วคราวและหน่วยความจำชนิดใดเป็น หน่วยความจำถาวร

  15. หน่วยเรียนที่ 4 หน่วยแสดงผล(Output Unit) วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม รายละเอียดเนื้อหา 4. หน่วยแสดงผล(Output Unit) 4.1 Monitor 4.2 Printer 4.3 Plotter 4.4 Projector 4.5 Speaker 4.1อธิบายความหมายแลของอุปกรณ์ทางด้าน เอ้าท์พุทได้ 4.2บอกได้ว่าอุปกรณ์ชนิดใดเป็นอุปกรณ์แสดงผล 4.3 เข้าใจหน้าที่การทำงานของอุปกรณ์เอ้าท์พุทแต่ละตัว 4.4 อธิบายข้อแตกต่างของการนำอุปกรณ์เอ้าท์พุท ไปใช้งานได้ 4.5 สามารถเลือกใช้อุปกรณ์เอ้าท์พุทได้อย่างถูกต้อง

  16. เริ่มเข้าสู่บทเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน Module 1 หน่วยรับข้อมูล(Input Unit) Module 3 หน่วยความจำ (Memory) Module 4 หน่วยแสดงผล (Output Unit) แบบทดสอบหลังเรียน จบบทเรียน ลำดับการนำเสนอเนื้อหาบทเรียน (Course Flow Chart) Module 2 หน่วยประมวลผลกลาง(CPU)

  17. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) แบบทดสอบก่อนเรียน(Pre-Test) Keyboard Mouse Scanner Digital Camera Joystick Microphone แบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) กลับเมนูหลัก การนำเสนอเนื้อหา Module 1

  18. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) แบบทดสอบก่อนเรียน(Pre-Test) ALU CU แบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) กลับเมนูหลัก การนำเสนอเนื้อหา Module 2

  19. หน่วยความจำ (Memory) แบบทดสอบก่อนเรียน(Pre-Test) Secondary Memory Main Memory RAM ROM Hard Disk CD ROM DVD ROM Tape Floppy Disk แบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) กลับเมนูหลัก การนำเสนอเนื้อหา Module 3

  20. หน่วยแสดงผล (Output Unit) แบบทดสอบก่อนเรียน(Pre-Test) Monitor Printer Plotter Speaker Projector แบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) กลับเมนูหลัก การนำเสนอเนื้อหา Module 4

  21. การออกแบบบทเรียน(Design) 5. สร้างแผนภูมิการนำเสนอในแต่ละหน่วย (Module Presentation Chart) • กำหนดกลวิธีการนำเสนอในแต่ละหน่วยเรียน • ว่าจะให้มีรูปแบบเช่นไรจะต้องออกแบบลำดับ • การนำเสนอเนื้อหาบทเรียนตามหลักการ • สอนจริง

  22. เริ่มเข้าสู่บทเรียน นำเข้าสู่บทเรียน อธิบายด้วยข้อความ ตัวหนังสือ (Text)ด้วยภาพนิ่งหรือ ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบก่อนเรียน เป็นแบบทดสอบแบบ 4 ตัวเลือก ใช้วิธีการสุ่ม นำเสนอเนื้อหา อธิบายด้วยข้อความ ตัวหนังสือ (Text) และเสียง ยกตัวอย่างประกอบ ด้วยภาพนิ่งหรือ ภาพเคลื่อนไหว แบบฝึกหัด เป็นแบบถามตอบนำเสนอและให้ผลย้อนกลับด้วยข้อความ ตัวหนังสือ ภาพนิ่งหรือ ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบหลังเรียน เป็นแบบทดสอบแบบ 4 ตัวเลือกใช้วิธีการสุ่มข้อสอบ นำเสนอด้วยข้อความตัวหนังสือ แผนภูมิการนำเสนอบทเรียน (Module Presentation Chart) จบบทเรียน

  23. การพัฒนาบทเรียน(Development) 6. เขียนรายละเอียดเนื้อหา(Script Development) 7. จัดทำลำดับเนื้อหา(Story Board Development) 8. ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหา(Content Correctness) 9. สร้างแบบทดสอบส่วนต่างๆ

  24. การพัฒนาบทเรียน(Development) 6. เขียนรายละเอียดเนื้อหา(Script Development) • โดยนำมาเขียนลงในกรอบตามแผนการนำเสนอที่ได้ • วางไว้ ซึ่งเป็นการร่างต้นแบบของการนำเสนอก่อนการ • นำเสนอจริงในแต่ละเฟรม มีการกำหนดส่วนที่ต้องใช้ • ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง สี ปฎิสัมพันธ์ ที่ควรจะมีใน • แต่ละเฟรม

  25. File name ..……………… Module 2 ……………………..……………………... Comp.& IT (SIE) Subject ... หน่วยเรียนที่ 2 ทฤษฎีทางไฟฟ้าขั้นพื้นฐาน …... Title ... SubMenu : หัวเรื่องหน่วย 2 …………………….. File in From Effect File Out to Computer Instruction Script Page no ..02-1.. sheet no ..01.. Main Icon … Basic …... ...Main Menu... C lick รายการหลักกลับแผนภูมิ ...Main Menu... Form No. …002… ……………..…… C lick. รูป เข้า สู่บทเรียน …………. ………………… …………….. C lick. ปุ่มคำสั่งเข้าสู่คํ าสั่งต่าง ๆ …. ………………… ……………….. ……..………………………….... …….………….. Screen Show-out ………………-………………...…………………………... ทฤษฎีวงจรไฟฟฟ้ากระแสตรง ทฤษฎีทางไฟฟฟ้าขั้นพื้นฐาน กำลังไฟฟ้า กฎของโอห์ม ……………………………………….…………………….. ……………………………………………………………... Picture/VDO …… กฎของโอห์ม ……. File name ..… Ohm. jpg ….……….. … ……. กำลังไฟฟ้า …….... File name …. Power. jpg..………….. พลังงานไฟฟ้า ตรา ……. พลังงานไฟฟ้า ..…. File name …. Energy. jpg…………. ………..………………. File name …………………………… รายการหลัก แบบทดสอบ ส่วนช่วยเหลือ ออก Narration Script … สวัสดีครับยินดีต้อนรับสู่หน่วยเรียนที่ 2 ทฤษฎีทาง ไฟฟ้าขั้นพื้นฐานผู้เรียนสามารถเลือกเรียนเรื่องใดก่อนก็ได้ แต่ถ้าจะให้สัมฤทธิ์ผล ผู้เรียนควรเลือกเรียนตามลําดับขั้นดังนี้ ทําแบบทดสอบก่อนเรียน เมื่อทำแบบ Script writer … วิภารัตน์ พุกเงิน …..…… Graphic ………. วิภารัตน์ พุกเงิน ………………..……... ทดสอบก่อนเรียนเสร็จแล้วให้กลับมาเรียนเนื้อหาเรื่อง กฎของโอห์ม กำลัง ไฟ ฟ้าและ VDO Shooter ……-………………………. Narrator …..…. วิภารัตน์ พุกเงิน ………………..…….... พลังงานไฟฟ้า ตามลําดับ หลังจากเรียนเนื้อหาจบแล้วให้กลับไปทำแบบทดสอบ Supervisor …… เชษฐา คงพลปาน ……..… Inspector …..… ณรงค์ชัย สุขสว คนธ์ ….……………...… หลังเรียนต่อไป Approved ……. รศ . ไพโรจน์ ตีรณธนากุล ... Date …………………….…………..……………………... Note ………………………………………………………………………………. ตัวอย่างการออกแบบกรอบเนื้อหาของบทเรียน

  26. การพัฒนาบทเรียน(Development) 7. จัดทำลำดับเนื้อหา (Story Board Development) • โดยนำกรอบเนื้อหาที่กำหนดเสร็จแล้ว นำมา • จัดเรียบเรียงตามลำดับการนำเสนอให้สอดคล้อง • กับที่ได้วางแผนและออกแบบไว้ ซึ่งยังเป็น • เอกสารสิ่งพิมพ์อยู่

  27. การพัฒนาบทเรียน(Development) 8. ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหา(Content Correctness) • โดยนำเนื้อหาที่ยังเป็นสิ่งพิมพ์นี้ ตรวจสอบความถูกต้องความ • สมบูรณ์และความเหมาะสมของลำดับเนื้อหาที่จัดทำลงในกรอบ • เนื้อหา โดยผู้เชี่ยวชาญหลังจากนั้นก็นำข้อเสนอแนะของ • ผู้เชี่ยวชาญ มาทำการปรับปรุงแล้วนำไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง

  28. 1. เนื้อหาครอบคลุมสนองตามวัตถุประสงค์ 2. ความชัดเจนของเนื้อหาในการนำเสนอ 3. ความเข้าใจในการสื่อความหมาย 4. ลำดับเนื้อหาง่ายต่อความเข้าใจ 5. มีการเชื่อมโยงของเนื้อหาเหมาะสม 6. กล่าวนำและสรุปชัดเจน ตัวอย่างการแบบประเมินความคิดเห็นที่มีต่อเนื้อหา ระดับการประเมิน ด้านการประเมิน 4 3 2 1

  29. ระดับการประเมินความคิดเห็น 4 - 3.51 หมายถึงดีมาก 3.5 - 2.51 หมายถึงดี 2.5 - 1.51 หมายถึงพอใช้ 1.5 - 1 หมายถึงควรปรับปรุง

  30. การพัฒนาบทเรียน(Development) 9. สร้างแบบทดสอบส่วนต่างๆ • ศึกษาเนื้อหาและวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมตามหลักสูตร ออกข้อสอบตามวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ต้องการวัดนำร่างแบบทดสอบมาตรวจสอบ โดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา ทำการปรับปรุงแบบทดสอบตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ นำแบบทดสอบที่ผ่านการปรับปรุงแก้ไข ไปทำการทดสอบกับกลุ่มตัวอย่างนำผลคะแนนสอบที่ได้ มาวิเคราะห์คุณภาพของแบบทดสอบถึงค่าความยากง่าย ค่าอำนาจจำแนก และค่าความเชื่อมั่น ให้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด

  31. การเลือกแบบทดสอบ • ค่าความยากง่าย(P) อยู่ระหว่าง 0.2- 0.8 • ค่าอำนาจจำแนก (D) ตั้งแต่ 0.2 ขึ้นไป • ค่าความเชื่อมั่น 0.6 ขึ้นไป

  32. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อสอบสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อสอบ • การหาค่าความยากง่ายและค่าอำนาจจำแนก ของแบบทดสอบ • โดยใช้สูตรดังต่อไปนี้ • P = ระดับความยากง่ายของแบบทดสอบ • D = ค่าอำนาจจำแนก • RU= จำนวนคนที่ทำข้อสอบแต่ละข้อถูก ในกลุ่มเก่ง • RL = จำนวนคนที่ทำข้อสอบแต่ละข้อถูก ในกลุ่มต่ำ • N = จำนวนคนทั้งหมด • NU = จำนวนคนทั้งหมดในกลุ่มเก่ง

  33. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อสอบสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อสอบ • การหาสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ • (สูตรที่ 21 ของคูเดอร์ริชาร์ดสัน) โดยใช้สูตรดังต่อไปนี้ • RTT = ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ • k = จำนวนข้อในแบบทดสอบ • x = คะแนนเฉลี่ย • S2 = ความแปรปรวนคะแนนในแบบ • ทดสอบ

  34. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ • หาค่าเฉลี่ย • x = ค่าเฉลี่ย • n =จำนวนข้อมูล • x =คะแนนแต่ละจำนวน • =ผลรวมของคะแนน

  35. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ • 4. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน • S.D. = • S.D. = ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน • =ผลรวมของคะแนน • n=จำนวนข้อมูล

  36. การนำเสนอบทเรียนบนคอมพิวเตอร์(Implementation)การนำเสนอบทเรียนบนคอมพิวเตอร์(Implementation) 10. เลือกโปรแกรมในการจัดทำบทเรียน 11. จัดเตรียมสื่อที่จำเป็นต้องใช้ประกอบใน แต่ละเฟรมของการนำเสนอ 12. สร้างบทเรียนโดยนำทรัพยากรที่เตรียมไว้แล้ว มาสร้าง ตามที่ได้ออกแบบไว้

  37. การสร้างแบบทดสอบ • แบบทดสอบก่อนเรียน • แบบทดสอบระหว่างเรียน (แบบฝึกหัด) • แบบทดสอบหลังเรียน • แบบทดสอบครบทุกบท/ ครอบคลุมวัตถุประสงค์

  38. การวิเคราะห์ข้อสอบปรนัยการวิเคราะห์ข้อสอบปรนัย • เทคนิค 25 % • กลุ่มคะแนนสูง 25 % • กลุ่มคะแนนต่ำ 25 % • คะแนนกลาง ๆ ตัดทิ้งทั้งหมด • ค่าความยากง่าย(P) อยู่ระหว่าง 0.2- 0.8 • ค่าอำนาจจำแนก (D) ตั้งแต่ 0.25 ขึ้นไป • ค่าความเชื่อมั่น 0.8 ขึ้นไป

  39. การพัฒนาเครื่องมือวิจัยการพัฒนาเครื่องมือวิจัย • Tryout แบบทดสอบ • One to One • Small Group • Large Group • การหาประสิทธิภาพ 80/80

  40. One to one • การทดลองแบบหนึ่งต่อหนึ่ง • ทดลองให้นักเรียนหนึ่งคนเข้าเรียนรายวิชาใน e-Learning • สังเกตปัญหาในการเรียน • สัมภาษณ์การเข้าใช้ระบบ e-Learning • หาข้อขัดข้องทำการแก้ไข

  41. Small Group • การทดลองกลุ่มเล็ก 3 คน • ทดลองให้นักเรียนสามคนเข้าเรียนในรายวิชา e-Learning • สังเกตพฤติกรรมและปัญหาในการเข้าเรียน • สัมภาษณ์ปัญหาในการเข้าเรียนทั้งสามคน นำมาวิเคราะห์ปัญหา • ปรับแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น

  42. Large Group • การทดลองกลุ่มใหญ่ 9 คน • ทดลองให้นักเรียนเก้าคนเข้าเรียนในรายวิชา e-Learning • สังเกตพฤติกรรมและปัญหาในการเข้าเรียน • สัมภาษณ์ปัญหาในการเข้าเรียนทั้งสามคน นำมาวิเคราะห์ปัญหา • ปรับแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น

  43. การประเมินผล(Evaluation) 13. ตรวจสอบคุณภาพของ Package 14. ทดลองหาประสิทธิภาพกับกลุ่มตัวอย่าง 15. ทำการทดสอบหาประสิทธิภาพ(E1/E2) 16. จัดทำคู่มือการใช้งาน(User Manual)

  44. การประเมินผล(Evaluation) 13. ตรวจสอบคุณภาพของ Package นำบทเรียนที่สร้างขึ้นไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ และประเมินคุณภาพด้านมัลติมีเดียนำข้อบกพร่อง และข้อเสนอแนะมาปรับปรุงให้สมบูรณ์

  45. ระดับความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ในการปรับปรุง ดีมาก 5 ดี 4 ปานกลาง 3 พอใช้ 2 ควร ปรับปรุง 1 ตัวอย่างแบบประเมินคุณภาพด้านมัลติมีเดีย ด้านการประเมิน 1. ด้านตัวอักษร (Text) 2. ด้านภาพนิ่ง (Image) 3. ด้านภาพเคลื่อนไหว (Animation) 4. ด้านเสียง (Audio) 5. ด้านปฏิสัมพันธ์ (Interactive)

  46. การประเมินผล(Evaluation) 14. ทดลองหาประสิทธิภาพกับกลุ่มตัวอย่าง นำบทเรียนที่ปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อยแล้ว ไปทดสอบกระบวนการหาประสิทธิภาพ กับ กลุ่มตัวอย่าง

  47. การประเมินผล(Evaluation) 15. ทำการทดสอบหาประสิทธิภาพ (E1/E2) ดำเนินการทดสอบเพื่อหาประสิทธิภาพและประสิทธิผลทางการเรียนกับกลุ่ม เป้าหมายแล้วนำผล ที่ได้มาทำการวิเคราะห์ว่าเป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้

  48. การประเมินผล(Evaluation) สมมุติฐาน E1/E2 : 80/80 E1 คือค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของนักศึกษาที่ทำแบบทดสอบ หลังการเรียนระหว่างหน่วย E2 คือค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของนักศึกษาที่ทำแบบทดสอบ หลังการเรียนเมื่อเรียนครบทุกหน่วย

  49. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพ • การหาประสิทธิภาพโดยใช้สูตรดังต่อไปนี้ • สูตรที่ 1

  50. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพ • การหาประสิทธิภาพโดยใช้สูตรดังต่อไปนี้ • สูตรที่ 2

More Related