1 / 26

รูปแบบงานดนตรีนิพนธ์

รูปแบบงานดนตรีนิพนธ์. ผศ.ดร.ศันสนีย์ จะ สุวรรณ์. ข้อกำหนดของงานดนตรีนิพนธ์. การสอบดนตรีนิพนธ์ประกอบด้วย การสอบหัวข้อ (หัวเรื่องที่จะศึกษา) การสอบข้อค้นพบ (สอบจบ) จะสอบได้หลังจากผ่านการสอบหัวข้อไม่น้อยกว่า 3 0 วัน การแสดงผลงานต่อหน้าสาธารณชน. การสอบหัวข้อ. คณะกรรมการสอบประกอบด้วย

farica
Download Presentation

รูปแบบงานดนตรีนิพนธ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รูปแบบงานดนตรีนิพนธ์ ผศ.ดร.ศันสนีย์ จะสุวรรณ์

  2. ข้อกำหนดของงานดนตรีนิพนธ์ข้อกำหนดของงานดนตรีนิพนธ์ • การสอบดนตรีนิพนธ์ประกอบด้วย • การสอบหัวข้อ (หัวเรื่องที่จะศึกษา) • การสอบข้อค้นพบ (สอบจบ) จะสอบได้หลังจากผ่านการสอบหัวข้อไม่น้อยกว่า 30วัน • การแสดงผลงานต่อหน้าสาธารณชน

  3. การสอบหัวข้อ • คณะกรรมการสอบประกอบด้วย • ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก • อาจารย์ที่ปรึกษา • อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม หรือผู้แทนอาจารย์ในสาขา

  4. การดำเนินการสอบ • นักศึกษาส่งเอกสารประกอบการสอบล่วงหน้าอย่างน้อย 3 วัน เพื่อสาขาจะได้ทำประกาศลำดับการสอบซึ่งประกอบด้วย • คำร้องขอสอบซึ่งอาจารย์ที่ปรึกษาลงนามอนุญาต • เอกสารประกอบการสอบ (หัวข้อ / ข้อค้นพบ) โดยไม่ต้องเข้าเล่ม

  5. การปฏิบัติในวันสอบ • นักศึกษาประสานงานคณะกรรมการที่จะสอบของนักศึกษาให้มาตามลำดับและเวลาที่ประกาศ • เตรียม power point ประกอบการนำเสนอ 3 ชุดสำหรับกรรมการสอบ • ใช้เวลาในการนำเสนอประมาณ 5 -10 นาทีสำหรับหัวข้อ และ 10 – 15 นาทีสำหรับสอบข้อค้นพบ

  6. การเสนองานดนตรีนิพนธ์การเสนองานดนตรีนิพนธ์ • ประกอบด้วย 2 ประเภทคือ • งานวิจัย • งานสร้างสรรค์

  7. งานวิจัย • เป็นงานค้นคว้าหาความรู้ใหม่ หาวิธีการแก้ปัญหา รวบรวม สังเคราะห์ข้อมูลจนได้ข้อค้นพบ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อตัวนักศึกษา และวงการดนตรี แบ่งออกเป็น • การวิจัยเอกสาร เป็นงานวิจัยที่สังเคราะห์เอกสาร หลักฐานทางประวัติศาสตร์ เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่เป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์

  8. งานวิจัย • การวิจัยเชิงสำรวจ เป็นการสำรวจความคิดเห็น ทัศนคติ ความเปลี่ยนแปลงต่างๆในวงการดนตรี • การวิจัยเชิงคาดการณ์ เป็นการหาแนวโน้ม ทิศทางของเรื่องใดเรื่องหนึ่งในวงการดนตรี • การวิจัยเชิงทดลอง เป็นการทดสองวิธีการใหม่ๆ หรือเทคนิคใหม่ เพื่อให้เกิดข้อค้นพบที่เป็นประโยชน์ในการพัฒนาวิชาการดนตรี หรือ แก้ปัญหาด้านต่างๆของการปฏิบัติดนตรี • การสร้างสิ่งประดิษฐ์ใหม่

  9. งานสร้างสรรค์ • เป็นงานที่เกิดจากการส่งสมประสบการณ์และความรู้ของนักศึกษา และสร้างสรรค์ออกมาเป็นผลงาน ประกอบด้วย • งานสร้างสรรค์ใหม่ เป็นการสร้างงานใหม่จากแนวคิดของนักศึกษาเองโดยไม่ต้องมีต้นแบบ • งานขยายจากต้นแบบ เป็นการนำต้นแบบมาเป็นตัวตั้ง และขยายออกมาในรูปแบบต่างๆที่แตกต่างไปจากเดิม

  10. งานสร้างสรรค์ • งานดัดแปลง เป็นการดัดแปลงจากต้นแบบ โดยการเรียบเรียงใหม่ เปลี่ยนวิธีการบรรเลง เปลี่ยน style เป็นต้น “โดยงานที่สร้างสรรค์เหล่านี้เกิดจากการใช้องค์ความรู้ที่นักศึกษาเรียนมานำมาประยุกต์ใช้ และผลงานที่นำเสนอต้องมีความยาวประมาณ 15 นาที”

  11. การเขียนรายงานการสร้างสรรค์การเขียนรายงานการสร้างสรรค์ • การเขียนเอกสารประกอบการนำเสนอหัวข้อ (ประมาณ 10 หน้า) ประกอบด้วย • ชื่อเรื่อง • ชื่อนักศึกษา รหัสประจำตัว ชั้นปี สาขา เครื่องมือเอก • ที่มาของแนวคิดในการสร้างสรรค์ • วัตถุประสงค์

  12. การเขียนเอกสารประกอบการนำเสนอหัวข้อการเขียนเอกสารประกอบการนำเสนอหัวข้อ • ขอบเขตของงานสร้างสรรค์ • วิธีดำเนินการสร้าง • กรอบแนวคิดในการสร้างสรรค์ • ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้อง • แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

  13. การเขียนความเป็นมาฯ / ที่มาของแนวคิด • เริ่มจากการอธิบายภาพกว้างๆของงานที่ศึกษา / สร้างสรรค์ • ระบุความจำเป็น ความสำคัญของเรื่องที่จะดำเนินการ • อ้างแนวคิดทฤษฎีประกอบ • สรุปประเด็นว่าจะทำอะไร

  14. วัตถุประสงค์ • เป็นการกำหนดเป้าหมายว่าจะได้อะไรจากการดำเนินการครั้งนี้ • ไม่ควรเกิน 3 ข้อ • มีความเป็นรูปธรรม

  15. วิธีดำเนินการศึกษา • เป็นวิธีดำเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อค้นพบ หรือคำตอบตามวัตถุประสงค์ • เป็นการระบุขั้นตอนในการดำเนินการต่างๆอย่างละเอียด • ควรทำเป็นตารางกำหนดเวลาในการดำเนินการ • เช่น ไปศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ของใคร เรื่องอะไร ใช้เวลาเท่าไร เป็นต้น

  16. กรอบแนวคิดในการศึกษา • เป็นการสร้างแผนภูมิเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจในกระบวนการของการสร้างความสัมพันธ์เชิงทฤษฎีกับข้อค้นพบที่จะเกิดขึ้น • เช่น การแต่งเพลง กำหนดรูปแบบเพลงประเภทใด แนวคิดทฤษฎีใครที่เป็นหลักในการดำเนินการ และได้อะไรเกิดขึ้น

  17. นิยามศัพท์ • หมายถึงคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องในเรื่องที่ศึกษา • การให้คำนิยามจะต้องอยู่บนบริบทของงาน โดยใช้ความหมายจากทฤษฎีมารวมกับกรอบแนวคิดตามขอบเขตที่ศึกษา

  18. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง • เป็นการอ้างอิงที่มาของการค้นคว้าวิจัย / การสร้างงาน • นำมาจากกรอบแนวคิด นำมาอธิบายในรายละเอียด เพื่อเป็นการให้ข้อมูลเบื้องต้น • เป็นเอกสารที่มีการตีพิมพ์เผยแพร่แล้ว นำมารวบรวมตาม หัวเรื่องที่ศึกษา / สร้างสรรค์

  19. การเขียนรายงานการสร้างสรรค์ (ฉบับสมบูรณ์) • สำหรับรายงานการสร้างสรรค์ ในรูปเล่มประกอบด้วย • ปกหน้า • ปกใน ภาษาไทย • หน้าอนุมัติ • บทคัดย่อ • กิตติกรรมประกาศ • สารบัญ • สารบัญตาราง (ถ้ามี)

  20. สำหรับงานสร้างสรรค์ (ต่อ) • สารบัญภาพ (ถ้ามี) • บทที่ 1 บทนำ • บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง • บทที่ 3 วิธีการในการสร้างสรรค์ • บทที่ 4 ผลงานที่เกิดขึ้น • บทที่ 5 สรุป และข้อเสนอแนะ • บรรณานุกรม • ภาคผนวก • ประวัติผู้เขียน • แผ่นซีดีบันทึกผลงาน

  21. บทที่ 1 ประกอบด้วย • ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา • วัตถุประสงค์ • กรอบแนวคิด • ขอบเขตการศึกษา • วิธีดำเนินการ • นิยามศัพท์

  22. บทสุดท้าย สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ • สรุปข้อค้นพบ / ผลงานที่ได้รับ • อภิปรายผล (สำหรับงานวิจัย) เป็นการอธิบายว่า ข้อค้นพบนั้น สอดคล้องหรือขัดแย้งกับทฤษฎีที่ศึกษามาหรือไม่ อย่างไร • ข้อเสนอแนะ แบ่งออกเป็น • ข้อเสนอแนะในการนำผลที่ได้ไปใช้ • ข้อเสนอแนะสำหรับการศึกษา / ดำเนินการต่อไปในอนาคต

  23. บรรณานุกรม (ตัวอย่าง) ธานี สุคนธะชาติ (2546).คู่มือเตรียมตัวก่อนการออกแบบบรรจุภัณฑ์. กรุงเทพฯ : จิรายาคอมมูนิเคชั่น จำกัด. เนื่อง นิลรัตน์ , ม.ล.(2540).ชีวิตในวัง . กรุงเทพฯ: ศรีสารา. __________.(2545).ชีวิตในบ้านกับตำราอาหารวังสุนันทา. กรุงเทพ : อัลฟ่า พับลิชชิ่ง จำกัด,. แน่งน้อย ติตติรานนท์. (2523).สวนสุนันทาในอดีต. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ พิศิษฐ์การพิมพ์. วรวุฒิเจริญศิริ. (2551).โรคภูมิแพ้. [Online Available] http://www.bangkokhealth.com/lung_htdoc/ lung_health_detail.asp?number=9343

  24. การพิมพ์ • ใช้ตัวอักษร Angsana New 16 สำหรับข้อความ • ใช้ตัวอักษร Angsana New 18 สำหรับหัวข้อ • การตั้งหน้ากระดาษ ด้านบนและด้านซ้าย 3.5 ซม. ด้านล่างและด้านขวา 2.5 ซม. • บทที่ และชื่อบท อยู่กลางหน้ากระดาษคนละบรรทัด • หัวข้อหลักให้ชิดขอบด้านหน้า ตัวหนา • หัวข้อรองให้ย่อหน้า เข้ามา 2 ซม. ตัวหนา

  25. การเว้นบรรทัด • การเว้นระยะบรรทัดเพิ่มขึ้นเป็น 1.5 เฉพาะก่อนขึ้นหัวข้อหลักหัวข้อใหม่เท่านั้น • ระหว่างหัวข้อและเนื้อความให้ใช้ตามปกติ • ระหว่างชื่อบทและหัวข้อหลัก เว้นบรรทัดเป็น 1.5

  26. ตัวอย่าง บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ดนตรีเป็นศาสตร์.................................................................................. .......................................................................................................................... ......................................................................................................................... วัตถุประสงค์ 1.....................................................................

More Related