190 likes | 461 Views
การประเมินความคุ้มค่า การ ปฏิบัติภารกิจของภาครัฐ. KM กองแผนงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 โดย กลุ่มงานตรวจสอบและติดตามผลงาน กองแผนงาน. เนื้อหาการบรรยาย. 1. ความเป็นมา 2. ความหมาย 3. วัตถุประสงค์ของการประเมินความคุ้มค่า 4. ขอบเขตการประเมินความคุ้มค่า 5. กรอบการประเมินความคุ้มค่า
E N D
การประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของภาครัฐการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของภาครัฐ KM กองแผนงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 โดย กลุ่มงานตรวจสอบและติดตามผลงาน กองแผนงาน
เนื้อหาการบรรยาย 1. ความเป็นมา 2. ความหมาย 3. วัตถุประสงค์ของการประเมินความคุ้มค่า 4. ขอบเขตการประเมินความคุ้มค่า 5. กรอบการประเมินความคุ้มค่า 6. ขั้นตอนการประเมินความคุ้มค่า 7. ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินความคุ้มค่า 8. ตัวอย่างการวิเคราะห์ กลุ่มงานตรวจสอบและติดตามผลงาน
1. ความเป็นมา • พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 กำหนดให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐในมาตราที่ 22 • หน่วยงานที่รับผิดชอบ • * สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสำนักงบประมาณ * ปัจจุบัน การประเมินความคุ้มค่าเป็นส่วนหนึ่งที่รวมอยู่ในการประเมิน PART ในหมด จ การประเมินผลในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ • การดำเนินงาน * นำร่อง ปี พ.ศ. 2550 ในกลุ่ม 3 กระทรวงหลัก ได้แก่ กระทรวงมหาดไทย กระทรวง อุตสาหกรรม และกระทรวงสาธารณสุข * ขยายผลครอบคลุมทุกกระทรวงปี พ.ศ. 2552 และกรมชลประทานได้เลือกผลผลิตการจัดการน้ำชลประทานเพื่อนำร่อง ที่มาข้อมูล : สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
2. ความหมาย • การประเมินความคุ้มค่า (Value for Money : VFM) หมายถึง การประเมินการดำเนินภารกิจของภาครัฐเพื่อให้ได้ผลผลิตผลลัพธ์ ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ และมีผลประโยชน์ที่สมดุลกับทรัพยากรที่ใช้ • ทั้งนี้ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอาจเป็นได้ทั้งผลสำเร็จที่พึงประสงค์ และผลกระทบในทางลบที่เกิดขึ้นแก่ประชาชนและสังคม ทั้งที่สามารถคำนวณเป็นตัวเงินได้ และไม่สามารถคำนวณเป็นตัวเงินได้ ที่มาข้อมูล : สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
3. วัตถุประสงค์ของการประเมินความคุ้มค่า • มุ่งให้ส่วนราชการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจด้วยตนเอง (Self-assessment) เพื่อ 1) ประเมินว่าการปฏิบัติภารกิจ มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และได้ก่อให้เกิดผลประโยชน์ ต่อประชาชนและภาครัฐมากหรือน้อยกว่าค่าใช้จ่ายและผลเสียที่เกิดขึ้นเพียงใด • 2) เป็นข้อมูลสำหรับส่วนราชการในการทบทวนจัดลำดับความสำคัญในการเลือกปฏิบัติภารกิจ หรือเป็นข้อมูลสำหรับรัฐบาลเพื่อพิจารณายุบเลิกภารกิจ รวมทั้งการปรับปรุงวิธีการปฏิบัติภารกิจ (Self-improvement) ให้มีประสิทธิผล และประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น • 3) เป็นแนวทางในการพิจารณาจัดตั้งงบประมาณของส่วนราชการในปีต่อไป (Self-control) ที่มาข้อมูล : สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
4. ขอบเขตการประเมินความคุ้มค่า 1) หน่วยของการประเมิน เป็นการประเมินภารกิจในระดับกรม แต่อย่างไรก็ตามหลักการประเมินสามารถประยุกต์ได้ ทั้งในระดับกรม กลุ่มภารกิจ หรือกระทรวง • 2) ภารกิจที่ต้องประเมิน ให้ความสำคัญเฉพาะภารกิจหลัก (Core Business) ของหน่วยงาน โดยหน่วยงานต้องเป็นผู้กำหนดด้วยตนเอง ประกอบด้วย • * ภารกิจหลักหรืองานหลัก • * ผลผลิตหลัก • * โครงการสำคัญเพื่อผลักดันภารกิจ ที่มาข้อมูล : สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
5. กรอบการประเมินความคุ้มค่า www.themegallery.com
(ต่อ) หมายเหตุ :ความคุ้มค่าไม่จำเป็นต้องลดต้นทุน (Cost) แต่เป็นการลงทุนเพื่อให้เกิดประโยชน์ที่เพิ่มขึ้น เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพชลประทานโดยลงทุนงานคันคูน้ำในเขตพื้นที่ชลประทาน www.themegallery.com
ทบทวนและกำหนดตัวชี้วัดและพิจารณาความสมบูรณ์ของข้อมูลทบทวนและกำหนดตัวชี้วัดและพิจารณาความสมบูรณ์ของข้อมูล ทบทวนผลผลิตของหน่วยงาน กำหนดผลตอบแทนและค่าใช้จ่าย จัดทำข้อเสนอแนะจากการประเมินความคุ้มค่า สรุปผลการประเมินความคุ้มค่า 1 2 3 5 4 6. ขั้นตอนการประเมินความคุ้มค่า www.themegallery.com
7. ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินความคุ้มค่า • ด้านยุทธศาสตร์/ความเชื่อมโยง * แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ * แผนการบริหารราชการแผ่นดิน * แผนยุทธศาสตร์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ * แผนกลยุทธ์ของกรมชลประทาน • ด้านข้อมูลองค์กร • * โครงสร้างองค์กร อัตรากำลังขององค์กร และงบประมาณรายจ่ายประจำปี • ด้านการวิเคราะห์ • * การวิเคราะห์ทางการเงิน และการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ ที่มาข้อมูล : สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
7.1 การวิเคราะห์ด้านการเงินและเศรษฐศาสตร์(ด้านประสิทธิผล) www.themegallery.com
(ต่อ) n (Bt-Ct) ∑ (1+r)t t=1 www.themegallery.com
(ต่อ) n n Ct (Bt-Ct) ∑ ∑ (1+r)t (1+r)t t=1 t=1 หมายเหตุ : 1. ให้ความสำคัญการตั้งสมมุติฐานในการวิเคราะห์ เช่น การกำหนดต้นทุนผลประโยชน์มีความครอบคลุมและสอดคล้องกับข้อเท็จจริงอย่างไร 2.อัตราคิดลดที่ใช้ (โครงการของภาครัฐ สศช. กำหนดไว้ที่ร้อยละ 9-12) www.themegallery.com
(ต่อ ตัวอย่างการพิจารณาผลการวิเคราะห์) หมายเหตุ : กำหนดอายุโครงการ 20 ปี อัตราคิดลดร้อยละ 12 www.themegallery.com