1 / 16

บัณฑิตที่พึงประสงค์

บัณฑิตที่พึงประสงค์. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข

fahim
Download Presentation

บัณฑิตที่พึงประสงค์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บัณฑิตที่พึงประสงค์

  2. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 • การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข • จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆอย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ทุกวิชา

  3. เก่ง สถาบันการศึกษา บัณฑิต ดี มีสุข

  4. การพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย • พ.ศ.2534 ก่อตัว“โครงการบัณฑิตอุดมคติ” • พ.ศ.2535 เริ่มเปิดสอนวิชาบัณฑิตอุดมคติ • พ.ศ.2538 สภามหาวิทยาลัยให้จัดการปฏิรูปการศึกษาทั่วไป ให้หยั่งรากลึกและเข้าถึงปรัชญาการศึกษาทั่วไป • พ.ศ.2540 ให้ “โครงการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย”เป็นโครงการตามมติคณะรัฐมนตรี

  5. โครงการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยโครงการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย • กระตุ้นให้เกิดจิตสำนึกในการสร้างบัณฑิตให้มีความรู้จริงและรอบรู้ในสาขาวิชาการ/วิชาชีพ ควบคู่กับการมีคุณธรรม/จริยธรรม เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพและเป็นที่พึงประสงค์ตามความต้องการของสังคม

  6. บัณฑิตอุดมคติที่พึงประสงค์ตามวิสัยทัศน์ของการพัฒนานักศึกษาในแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่9 คือ บัณฑิตที่มีความรู้คู่คุณธรรม มีสติปัญญา ใฝ่การเรียนรู้ นึกคิดอย่างเป็นระบบ มีจิตสำนึก และศักยภาพในการสร้างงาน บุคลิกภาพดี มีความเป็นผู้นำ ยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตย มีวินัย รับผิดชอบต่อตนเองและเอื้ออาทรต่อสังคม ตระหนักในคุณค่าทรัพยากรและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น สุขภาพดี และมีความเป็นสากล

  7. รูปแบบการสร้างบัณฑิตอุดมคติไทยรูปแบบการสร้างบัณฑิตอุดมคติไทย • การสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในการเรียนการสอน • การสร้างกระบวนวิชาที่เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม • การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมนักศึกษา

  8. ปณิธานของมหาวิทยาลัย ...บัณฑิตแห่งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พึงฝักใฝ่ในการฝึกตน เป็นผู้รู้จริง คิดเป็น ปฏิบัติได้ สามารถครองตน ครองคน ครองงาน ด้วยมโนธรรมและจิตสำนึกต่อสังคม

  9. คุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยคุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัย • มีความรู้ ความสามารถทางวิชาการและวิชาชีพ • มีทักษะในการเรียนรู้ การคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ • มีทักษะทางภาษา สามารถในการติดต่อสื่อสาร และถ่ายทอดความรู้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างน้อย 1 ภาษา • มีทักษะในการสืบค้นข้อมูล และใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่

  10. คุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยคุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัย • ใฝ่รู้ ศึกษาอย่างต่อเนื่อง และสามารถในการเรียนรู้ตลอดชีวิต • รู้จักตนเอง มีมนุษยสัมพันธ์ ปรับตนเองเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ • มีภาวะผู้นำ • มีคุณธรรม จริยธรรม • มีความรับผิดชอบต่อสังคม

  11. บทบาทของสถานศึกษาในการสร้างบัณฑิตอุดมคติบทบาทของสถานศึกษาในการสร้างบัณฑิตอุดมคติ • ส่งเสริมกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ • ปรับปรุงระบบบริหารจัดการให้เอื้อต่อการพัฒนานักศึกษา • สร้างสรรค์องค์ความรู้ในด้านการพัฒนานักศึกษาหรือเอื้อต่อการพัฒนานักศึกษา

  12. The 9th Asia Pacific Student Services Association (APSSA) ConferenceJuly 6-9, 2004 • The 21th century – an era of knowledge based economy • Education is important to sustain development Life-Long Learning

  13. Life-Long Learning Definition: • From birth to death education • Formal, non-formal and informal education for a highly skilled work force; personal development, creation

  14. Role of Universities • develop of lifelong learning • review strategies and policies • concern with extending knowledge and handling and applying knowledge for community. • strengthen staff and faculty to continue professional development • extend commitment on own tradition and extra curriculum

  15. คณาจารย์ควรมีบทบาทในการชี้นำและเป็นต้นแบบที่ดีเพื่อให้นักศึกษาได้ประพฤติปฏิบัติตนตามแบบอย่างที่ได้รับคณาจารย์ควรมีบทบาทในการชี้นำและเป็นต้นแบบที่ดีเพื่อให้นักศึกษาได้ประพฤติปฏิบัติตนตามแบบอย่างที่ได้รับ งานผลิตบัณฑิต เป็นงานที่ไม่เพียงแต่พัฒนาหรือท้าทายความสามารถของคณาจารย์เท่านั้น แต่ยังเป็นงานที่สร้างความภาคภูมิใจให้กับวิชาชีพของการเป็นอาจารย์ได้อย่างแท้จริง

  16. A seed left in the field will grow wild if uncultivated.

More Related