490 likes | 742 Views
บทที่ 4 (2) ความเหมาะสมของภาษี (Optimal Taxation). ความหมายของความเหมาะสมของภาษี. คุณสมบัติของการเก็บภาษีด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) กับความเท่าเทียม (Equity) ที่ต้องคำนึงอยู่เสมอในการเก็บภาษี ความเสมอภาคในแนวนอน (Horizontal Equity) ความเสมอภาคในแนวดิ่ง (Vertical Equity)
E N D
บทที่ 4 (2) ความเหมาะสมของภาษี (Optimal Taxation)
ความหมายของความเหมาะสมของภาษีความหมายของความเหมาะสมของภาษี • คุณสมบัติของการเก็บภาษีด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) กับความเท่าเทียม (Equity) ที่ต้องคำนึงอยู่เสมอในการเก็บภาษี • ความเสมอภาคในแนวนอน (Horizontal Equity) • ความเสมอภาคในแนวดิ่ง (Vertical Equity) • เนื่องจากการจัดเก็บภาษีทุกๆ ครั้งก่อให้เกิดการบิดเบือนของการจัดสรรทรัพยากร ยกเว้นภาษีที่ไม่ทำให้ราคาเปรียบเทียบเปลี่ยนแปลง (ภาษีแบบเหมาจ่าย) และมีผลต่อความเป็นธรรมระหว่างผู้เสียภาษี • ทำให้การออกแบบภาษีต้องคำนึงว่าจะทำอย่างไรจึงจะทำให้การจัดเก็บภาษีที่ผลต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาให้น้อยที่สุด ที่นำไปสู่การหลบเลี่ยงภาษีน้อยที่สุด
ความเหมาะสมของภาษีเก็บจากสินค้า (Optimal Community Taxation) • เป็นตัวอย่างที่ดีแสดงการเก็บภาษีที่เหมาะสม เพราะมีปัจจัยประกอบทั้งราคาสินค้า และการจัดสรรทรัพยากรสำคัญ คือเวลาที่ใช้ในการทำงานหารายได้ • หลักการพิจารณาคือ จะเก็บภาษีอย่างไร อัตราที่เหมาะสม สินค้าใดควรถูกจัดเก็บภาษีอย่างไร ภายใต้ข้อสมมุติการหารายได้จากภาษีของรัฐบาลต้องมีภาระภาษีส่วนเกิน (Deadweight loss) ที่ต่ำที่สุด โดยไม่ใช่การเก็บแบบเหมาจ่าย
ความเหมาะสมของภาษีเก็บจากสินค้า (Optimal Community Taxation) • Optimal commodity taxationคือการเลือกอัตราภาษีระหว่างสินค้าต่างๆ ที่เหมาะสมที่ทำให้เกิดภาระส่วนเกินน้อยที่สุด แล้วทำให้รัฐบาลสามารถได้รับรายได้ตามที่กำหนด
ตัวอย่างการศึกษา • สมมุติมีผู้บริโภคคนหนึ่งที่สามารถเลือกการบริโภคสินค้า 2 ชนิดคือ x และ y และเลือกเวลากากรพักผ่อน (การทำงาน) L โดยมีเงื่อนไขดังนี้ • โดย w = อัตราค่าจ้าง • T* = time endowment (24 ชั่วโมง) • Px = ราคาสินค้า x • Py = ราคาสินค้า y
ตัวอย่าง จัดเทอมใหม่ได้คือ สมมุติมีการจัดเก็บภาษีสินค้าทั้งสองและการพักผ่อนเพิ่มขึ้นโดยรัฐบาลทำให้เป็น
ตัวอย่างการเก็บภาษีที่เหมาะสมตัวอย่างการเก็บภาษีที่เหมาะสม • หารตลอดด้วย (1+t) จะได้ • ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบก่อนและหลังการเก็บภาษีพบว่าการเก็บภาษีอัตรา t เหมือนเป็นการเก็บภาษีแบบเหมาจ่าย เพราะเป็นการทำให้ มูลค่า time endowment ลดลงในสัดส่วนของอัตราภาษีที่จัดเก็บ • แต่ความจริงคือจะเก็บภาษีจากการพักผ่อนอย่างไร ที่เทียบเท่ากับสินค้าที่เป็นรูปธรรมชัดเจนได้ ดังนั้นการเก็บภาษีที่ขาดการเก็บจากการพักผ่อนจึงทำให้เกิดการบิดเลือนอย่างแน่นอน
ตัวอย่างการเก็บภาษีที่เหมาะสมตัวอย่างการเก็บภาษีที่เหมาะสม • ดังนั้นการเก็บภาษีจากสินค้าทุกประเภทที่ปรารถนาให้มีความเป็นกลาง (neutral tax) ในอัตราเดียวกัน ที่ไม่รวมการพักผ่อนจึงไม่อาจทำได้ โดยไม่ก่อให้เกิดความไม่มีประสิทธิภาพ
Ramsey Rule’s • เป็นความพยายามเก็บภาษีที่ทำให้มีภาระส่วนเกินน้อยที่สุด ขณะที่รัฐบาลยังสามารถได้รายได้ภาษีตามต้องการจำนวนหนึ่ง
กฎแรมซี่ย์ กับภาษีสินค้าที่เหมาะสม Optimal commodity taxation and Ramsey rule • กฎของ Ramsey คือ: • คือกำหนดอัตราภาษีระหว่างสินค้าต่างๆ ที่ทำให้ สัดส่วนระหว่างส่วนเพิ่มของภาระส่วนเกิน (marginal deadweight loss)กับรายได้ส่วนเพิ่มที่เก็บได้เพิ่ม (marginal revenue raised)เท่ากันในทุกๆ สินค้า
กฎแรมซี่ย์ กับภาษีสินค้าที่เหมาะสม ราคา สมมุติมีสินค้า 2 ชนิดที่ไม่ทดแทนหรือใช้ร่วมกัน ทำให้ การเก็บภาษีกับสินค้าหนึ่งที่มีผลกระทบต่อราคา ของสินค้าย่อมไม่กระทบอีกสินค้าหนึ่ง โดยสมมุติว่า Supply ขนานกับแกนนอน โดยเริ่มต้นบริโภคสินค้าที่ x0 แต่หลังมีภาษี ราคา เพิ่มเป็น P0 + uxทำให้การบริโภคลดเหลือเพียง x1 ทำให้ภาระส่วนเกินเท่ากับพื้นที่ abc b P0+ux c P0 a Dx ∆X x0 X1 ปริมาณสินค้า
กฎแรมซี่ย์ กับภาษีสินค้าที่เหมาะสม ราคา ต่อมามีการเก็บภาษีเพิ่มอีกหนึ่งหน่วย เป็น P0+ux+1 ภาระส่วนเกินเพิ่มเป็น fecโดยจะหาภาระส่วนเกินส่วนเพิ่มจาก พื้นที่ fec – abc เท่ากับขนาดของ marginal Deadweight loss ที่เท่ากับ พื้นที่ feabที่มีค่าเท่ากับ ½ ∆ x[ux +(ux+ 1)] โดย ∆x คือหน่วยสุดท้ายของภาระภาษีในรูปสินค้า x ที่ลดน้อยลง g P0+ux +1 f h b i P0+ux j e c P0 a Dx ∆x x0 X1 X2 ปริมาณสินค้า
กฎแรมซี่ย์ กับภาษีสินค้าที่เหมาะสม • ขณะนี้เราสามารถหาค่าภาระส่วนเกินของภาษีได้แล้ว สิ่งที่เหลือคือการหาค่ารายได้ภาษีส่วนเพิ่ม โดยจากรูปค่ารายได้ภาษีส่วนเพิ่มอีกหนึ่ง หน่วยคือการเก็บเพิ่มจาก uxเป็น ux+1 • จากรูปคือพื้นที่สี่เหลี่ยม ghifแต่การขึ้นภาษียังมีส่วนรายได้ภาษีที่หายไปอีกจากภาระส่วนเกิน คือพื้นที่ ibea • ผลต่างของรายได้รายได้ภาษีสุทธิจึงเป็น พื้นที่ ghif – ibeaโดยสามารถเขียนเป็นสูตรคณิตศาสตร์ได้คือ • x2(ux+1) – x1ux • Marginal excess burden จึงเป็น 1/2∆x[ux + (ux +1)]ซึ่งมีค่าเท่ากับ ∆X
เพราะว่า 1/2∆x[ux + (ux +1)] หรือ ∆xux + ½∆x • สามารถประมาณได้เท่ากับ ∆xuxเนื่องจากค่าเทอมที่สอง มีขนาดเล็กจนอาจกำหนดให้เท่ากับศูนย์ • และค่า 1/∆x เท่ากับux/∆X เพราะต่างเท่ากับ slope ของเส้น demand ดังนั้น • ∆xux= ∆X • ซึ่งคือค่า excess burden ของภาษีที่เพิ่มขึ้น 1 หน่วยนั่นเอง • ขั้นตอนถัดไปคือการหาค่ารายได้ภาษีที่เพิ่มขึ้น เพื่อหาสัดส่วนรายได้ภาษีที่เพิ่มจากการเพิ่มอัตราภาษี (ux)
กฎแรมซี่ย์ กับภาษีสินค้าที่เหมาะสม ราคา จากรูปในที่นี้การหารายได้ที่เพิ่มจากการเพิ่มแตราภาษีดังกล่าวคือ รายได้ภาษี = uxX1(อัตราภาษีคูณกับหน่วยสินค้าที่ขาย) และ ขนาดรายได้ภาษีเท่ากับ hbajณ อัตราภาษีคือ uxและเมื่อเพิ่ม เป็น ux + 1 ขนาดภาษีเท่ากับ gfihโดยมีเสียภาษีไป ibae หรือเท่ากับ X2 - (X1 – X2)ux g P0+ux +1 f h b i P0+ux j e c P0 a Dx ∆x x0 X1 X2 ปริมาณสินค้า
กฎแรมซี่ย์ กับภาษีสินค้าที่เหมาะสม • เพราะ marginal tax revenue เท่ากับ • X2 (ux +1) – X1ux = X2 + ux(X2 – X1) • เพราะจากรูป X2 = X1 - ∆x • แทนค่าได้ X1 = ∆x -ux ∆x • แต่เพราะว่า ∆x= ∆X/ux • ดังนั้น X1 - ∆X(1 + ux)/ux • แต่ ux > 1 เสมอ ทำให้ ประมาณได้เท่ากับ X1 - ∆X เท่ากับ marginal tax revenue • marginal excess burden/ เงินรายได้ภาษีที่เพิ่มขึ้น คือ ∆X/X1 - ∆X
กฎแรมซี่ย์ กับภาษีสินค้าที่เหมาะสม • สำหรับสินค้า Y จะได้เหมือนกันคือ ∆Y/Y1 - ∆Y • ภายใต้เงื่อนไขของภาระส่วนเกินน้อยที่สุด • ∆X/X1 - ∆X= ∆Y/Y1 - ∆Y • จัดเทอมใหม่ได้ • ∆X/X1= ∆Y/Y1 • ความหมายของสมการนี้คือ percentage change นั่นเอง ดังนั่น การที่ต้องการภาระส่วนเกินรวมของภาษีน้อยที่สุด ต้องจัดเก็บอัตราภาษีที่ทำให้ percentage change ของการลดลงของปริมาณสินค้าต่างๆ เท่ากัน
กฎแรมซี่ย์ กับภาษีสินค้าที่เหมาะสม • การแปลความหมายตามกฎของแรมซี่ย์ เพราะการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์สามารถแสดงความสัมพันธ์กับค่าความยืดหยุ่นได้
กฎแรมซี่ย์ กับภาษีสินค้าที่เหมาะสม Optimal commodity taxation and Ramsey rule • เป้าหมายของ Ramsey Ruleคือต้องการminimize ภาระส่วนเกินจากภาษี ให้มากที่สุดขณะที่สามารถเก็บรายได้ภาษีได้ตามจำนวนที่กำหนด • มูลค่ารายได้ที่เพิ่มของรัฐบาล คือมูลค่าของเงินที่อยู่ในมือของรัฐบาลแทนที่จะอยู่ในภาคเอกชน
ภาษีสินค้าที่เหมาะสม กับกฎส่วนกลับของความยีดหยุ่น Inverse elasticity rule • กฎ ส่วนกลับของความยืดหยุ่น เป็นการแสดงผลของ กฎของRamsey อย่างง่ายๆ เพื่อให้สามารถเข้าใจถึงนโยบายภาษีกับความยืดหยุ่นของอุปสงค์ • กล่าวคือรัฐบาลควรเก็บภาษีกับสินค้าแต่ละชนิด โดยมีกฎพื้นฐานว่าภาษีที่เก็บจากสินค้าแต่ละชนิดนั้นความเป็นส่วนกลับกับค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ของสินค้านั้นๆ นั่นคือ • หากสินค้ามีค่าความยืดหยุ่นยิ่งต่ำเท่าไร อัตราภาษีควรสูงมากขึ้นเท่านั้น
กฎส่วนกลับของอัตราภาษีกับความยืดหยุ่นกฎส่วนกลับของอัตราภาษีกับความยืดหยุ่น • การพิสูจน์ สมมุติมีสินค้า 2 ชนิด x และ y ที่ไม่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยมีราคาสินค้าคือ Pxและ Py • ค่าความยืดหยุ่นของสินค้า x คือ ηxและของสินค้า y คือ ηy • การเก็บภาษีกับสินค้า x คือ txและสินค้า y คือ ty • ดังนั้นตามกฎของ Ramsey แล้วภาระส่วนเกินภาษีรวมคือ • ภายใต้เงื่อนไขของการเก็บรายได้ภาษีเท่ากับ
กฎส่วนกลับของอัตราภาษีกับความยืดหยุ่นกฎส่วนกลับของอัตราภาษีกับความยืดหยุ่น • ดังนั้นภายใต้เงื่อนไขของการเก็บภาษีที่มีภาระส่วนเกินน้อยที่สุดทำให้ได้สมการ objective คือ • โดย subject to
กฎส่วนกลับของอัตราภาษีกับความยืดหยุ่นกฎส่วนกลับของอัตราภาษีกับความยืดหยุ่น • ตั้งสมการ Lagrangianequation ได้คือ • Set หาค่า multiplier ได้ • และ
กฎส่วนกลับของอัตราภาษีกับความยืดหยุ่นกฎส่วนกลับของอัตราภาษีกับความยืดหยุ่น • จาก • ได้ • และจาก • ได้
กฎส่วนกลับของอัตราภาษีกับความยืดหยุ่นกฎส่วนกลับของอัตราภาษีกับความยืดหยุ่น • ดังนั้น • ท้ายที่สุดจะได้ว่า • ซึ่งคือกฎ inverse elasticity rule นั่นเอง
การประยุกต์เรื่องความเท่าเทียมภายใต้กฎ Ramsey • จำเป็นต้องมีความสมดุลของปัจจัยสองอย่าง เพื่อจัดเก็บภาษีกับสินค้าที่เหมาะสม: • กฎความยืดหยุ่น The elasticity rule: คือเก็บภาษีกับสินค้าที่มีค่าความยืดหยุ่นต่ำ • กฎ ฐานภาษีทั่วไป The broad base rule: อาจเหมาะสมกว่าหากเก็บภาษีกับสินค้าทุกๆ ชนิดด้วยอัตราภาษีที่ต่ำ เพราะภาระส่วนเกินของภาษีจะเพิ่มตามอัตราภาษี (พิจารณาจากสูตรภาระส่วนเกิน) • ดังนั้นรัฐบาลจึงควรพิจารณาเก็บภาษีกับสินค้าทุกๆ ชนิดที่สามารถทำได้ โดยมีอัตราที่แตกต่างกัน
ตัวอย่างการประยุกต์การจัดเก็บภาษีสินค้าตัวอย่างการประยุกต์การจัดเก็บภาษีสินค้า • หากรัฐบาลมีการอุดหนุนราคาสินค้าสองชนิด ข้าวโพด กับข้าว ขณะเดียวกันเก็บภาษีจากน้ำมันพืช • โดยเงื่อนไขตัวอย่างนี้แสดงในตารางถัดไป
ตารางที่ 2 ภายใต้ค่าความยืดหยุ่นที่ปรากฏต้องมีการเปลี่ยนนโยบายต่อสินค้าต่างๆ
ตัวอย่างการประยุกต์การจัดเก็บภาษีสินค้าตัวอย่างการประยุกต์การจัดเก็บภาษีสินค้า • จากตารางพบว่าการอุดหนุนทำให้เกิดการบิดเบือนการบริโภค ในสินค้าข้าวโพด และข้าวสูง เพราะมีความยืดหยุ่นสูง เมื่อมีการอุดหนุนจากรัฐบาลทำราคาต่ำกว่าควร ประชาชนจึงหันมาบริโภคข้าวโพด และข้าวมาก ก่อให้มีความไม่มีประสิทธิภาพสูง • ขณะเดียวกันการก็บภาษีจากน้ำมันพืชก็ทำให้มีภาระส่วนเกินอยู่แล้ว • หากใช้กฎของ Ramsey’s ข้อเสนอในการปรับปรุงราคาที่กำหนดจึงมีข้อเสนอว่า การปฏิรูปภาษีควรเพิ่มประสิทธิภาพและเป็นกลางในการจัดเก็บรายได้: นั่นคือการลดภาษีกับน้ำมันพืช และลดการสูญเสียรายได้จากการนำไปอุดหนุนสินค้าอื่นๆ ในที่นี้คือข้าวโพด และที่สำคัญคือ สินค้าข้าว ต้องลดลง
ตัวอย่างการประยุกต์การจัดเก็บภาษีสินค้าตัวอย่างการประยุกต์การจัดเก็บภาษีสินค้า • ปัญหาการกระจายรายได้ที่อาจเกี่ยวข้องกับการปฏิรูปภาษี • โดยสินค้า น้ำมันพืช และข้าวโพดอาจเป็นสินค้าที่บริโภคโดยผู้มีรายได้น้อยเป็นสำคัญ แต่ข้าวอาจบริโภคโดยประชาชนทั่วไปทุกระดับชั้นรายได้ หากเป็นกรณีดังกล่าว การลดอุดหนุนข้าวโพดอาจทำได้ยากลำบาก และอาจไม่ควรจะต้องลดการอุดหนุนเพียงเพื่อลดปัญหาความไม่มีประสิทธิภาพเท่านั้น (แต่ต้องคำนึงประเด็นความเท่าเทียมประกอบด้วย)
การประยุกต์การกำหนดอัตราค่าใช้บริการสาธารณะที่เหมาะสมการประยุกต์การกำหนดอัตราค่าใช้บริการสาธารณะที่เหมาะสม • เราสามารถประยุกต์การเก็บภาษีที่เหมาะสมกับการคิดอัตราค่าธรรมเนียมบริการของรัฐบาลจากประชาชนได้ โดยลักษระการให้บริการของรัฐบาลมักเป็นรูปแบบผูกขาดตามธรรมชาติ (natural monopolist) เช่นไฟฟ้า น้ำประปา ฯลฯ เพราะเป็นการลงทุนที่มี sunk cost สูง แต่อัตราต้นทุนส่วนเพิ่มต่ำ (marginal cost) ซึ่งหากให้เอกชนดำเนินการอาจทำไม่ได้เนื่องจากใช้ทุนเริ่มต้นจำนวนมาก แต่หากทำได้จะมีกำไรส่วนเกินสูง
การประยุกต์การกำหนดอัตราค่าใช้บริการสาธารณะที่เหมาะสมการประยุกต์การกำหนดอัตราค่าใช้บริการสาธารณะที่เหมาะสม ราคา สังเกตุได้จากรูปว่าเป็นการผูกขาดเพราะ MC > AC เสมอ ดังนั้น ยิ่งมีการขนาดการให้บริการ จะยิ่งได้รับผลตอบแทนมากขึ้น ACz MCz MRz Dz ปริมาณ
การประยุกต์การกำหนดอัตราค่าใช้บริการสาธารณะที่เหมาะสมการประยุกต์การกำหนดอัตราค่าใช้บริการสาธารณะที่เหมาะสม ราคา การคิดราคาตามประสิทธิภาพสูงสุด MC = MR ได้กำไรส่วนเกิน เท่ากับ พื้นที่สีเขียว Pm ACm ACz MCz MRz Dz ปริมาณ Zm
การประยุกต์การกำหนดอัตราค่าใช้บริการสาธารณะที่เหมาะสมการประยุกต์การกำหนดอัตราค่าใช้บริการสาธารณะที่เหมาะสม ราคา หากคิดราคาตามต้นทุนเฉลี่ยคือที่ P = AC จะไม่มีกำไรส่วนเกิน และไม่ขาดทุน ทำได้เพียงคุ้มทุนเท่านั้น Pa ACz MCz MRz Dz Za ปริมาณ
การประยุกต์การกำหนดอัตราค่าใช้บริการสาธารณะที่เหมาะสมการประยุกต์การกำหนดอัตราค่าใช้บริการสาธารณะที่เหมาะสม ราคา หากคิดราคาตามต้นทุนส่วนเพิ่ม คือที่ MC = P ทำให้สามารถ ให้บริการได้มากที่สุดแก่ประชาชน แต่จะประสบกับการขาดทุนอยู่ดี ACz P* MCz MRz Dz Z* ปริมาณ
การประยุกต์การกำหนดอัตราค่าใช้บริการสาธารณะที่เหมาะสมการประยุกต์การกำหนดอัตราค่าใช้บริการสาธารณะที่เหมาะสม • ด้วยวิธีการตั้งราคาบริการสาธารณะทั้ง 3 รูปแบบจึงพบว่ารัฐบาลต้องกำกับการกำหนดราคาและปริมาณให้บริการที่มีประสิทธิภาพ เพื่อ • ไม่ให้มีกำไรส่วนเกินมากเกินไป • หากยอมให้การขาดทุนเกิดขึ้นต้องได้รับการชดเชย • กรณีที่มีกำไรส่วนเกินสูง แต่ปริมาณให้บริการไม่มีประสิทธิภาพรัฐบาลจึงต้องดำเนินการเอง เช่น ไฟฟ้า น้ำประปา ฯลฯ • กรณีที่ยอมคิดราคาต่ำกว่าต้นทุน ปัญหาคือการเก็บภาษีแบบเหมาจ่ายที่ไม่ทำให้ราคาถูกบิดเบือน เป็นเรื่องยากในทางปฏิบัติ และจะจัดเก็บภาษีจากใคร หากคำนึงความเสมอภาคแท้จริงแล้ว อาจต้องนำหลัก Benefit received principle มาร่วมพิจารณา เพราะผู้ได้ประโยชน์เป็นผู้รับภาระ
การกำหนดอัตราค่าใช้บริการสาธารณะที่เหมาะสมกับกฎของ Ramsey • จากแนวคิดราคาค่าบริการสาธารณะ หากนำแนวคิดของ Ramsey มาประกอบ จะพบว่าการให้บริการของรัฐวิสาหกิจต่างๆ เสมือนหนึ่งเป็นสินค้าชนิดต่างๆ การคิดค่าธรรมเนียมบริการคือการเก็บภาษีนั่นเอง • เมื่อต้องการเก็บรายได้จากบริการต่างๆ อย่างเป็นธรรมจึงทำให้อัตราค่าบริการระหว่างประเภทของบริการสาธารณะสามารถประยุกต์ใช้กฎของ Ramsey ได้คือ กฎส่วนกลับของค่าความยืดหยุ่น • แต่ในกรณีนี้บริการที่มีค่าความยืดหยุ่นต่ำอาจเป็นบริการที่ประชาชนไม่มีทางเลือกอื่น แม้จะมีค่าบริการสูงเท่าไรก็ตามก็ต้องบริโภค • ดังนั้นข้อเสนอสำคัญหนึ่งในทางปฏิบัติ คือการคิดราคาที่เท่ากับต้นทุนเฉลี่ย เพราะเป็นการกระจายภาระค่าบริการสาธารณะกับบริการของรัฐบาลในทุกๆ ประเภทของบริการ
ภาษีเงินได้ที่เหมาะสม OPTIMAL INCOME TAXES • ภาษีเงินได้ที่เหมาะสม คือการเลือกอัตราภาษีตามระดับชั้นรายได้ที่ทำให้ได้รับ social welfare สูงสุด ภายใต้ข้อจำกัดที่ว่ารายได้รัฐบาลสามารถจัดเก็บได้ตามต้องการchoosing the tax rates across income groups to maximize social welfare subject to a government revenue requirement. • ปัญหาสำคัญในกรณีนี้คือการวิเคราะห์ความเท่าเทียมแนวตั้ง
ตัวอย่างการวิเคราะห์ Optimal income taxes • สมมุติให้มีข้อกำหนดดังนี้: • ประชาชนทุกๆ คนมี utility เหมือนกันหมด • โดยมี Diminishing marginal utility of income คือรายได้เพิ่มขึ้น ทำให้ MUIลดลง • มีรายได้ทั้งหมดคงที่ • ทั้งนี้สมการอรรถประโยชน์เป็นแบบ Utilitarian social welfare function • ภายใต้ระบบการเก็บภาษีเงินได้ที่เหมาะสมทำให้ทุกๆ คนมีเงินได้เท่ากันหลังการเก็บภาษี • หมายความว่า หากใครมีรายได้เกินกว่าค่าเฉลี่ยจะถูกเก็บภาษีที่มีmarginal tax rate 100% • สุดท้ายกำหนดให้รายได้รวม (labor supply) อยู่คงที่
ภาษีที่เหมาะสมกับผลต่อพฤติกรรมของประชาชนภาษีที่เหมาะสมกับผลต่อพฤติกรรมของประชาชน • โดยหลักแล้วจะมีการ tradeoff ระหว่างความมีประสิทธิภาพและความเท่าเทียมเสมอในการเก็บภาษี • การเพิ่มการจัดเก็บภาษีย่อมทำให้มีผลต่อฐานของภาษีในแง่ที่ผู้เป็นฐานภาษีจะพยายามหลีกเลี่ยงภาระภาษี ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ตัวอย่างการเพิ่มภาษีกับรายได้ของแรงงานจะมีผลสองประการ: • รายได้ภาษีที่จัดเก็บเพิ่มขึ้น ณ ระดับรายได้ของแรงงานที่กำหนดแต่ขณะเดียวกัน • เพราะภาษีที่เพิ่มขึ้น แรงงานจึงลดการหารายได้ ทำให้มีรายได้ภาษีลดลง • ในช่วงที่มีอัตราภาษีสูง อิทธิพลด้านที่ สอง จะมีความสำคัญมากขึ้นเรื่อยๆ ตามอัตราภาษีที่เพิ่มขึ้น
ภาษีที่เหมาะสมกับผลต่อพฤติกรรมของประชาชนภาษีที่เหมาะสมกับผลต่อพฤติกรรมของประชาชน • เส้นLaffercurve เป็นเส้นที่แสดงความสัมพันธ์ดังกล่าวและถูกใช้เป็นเครื่องมือการจัดการด้าน supply side ในบางช่วงเวลา • เส้น Laffer Curve แสดงให้เห็นว่ารัฐบาลไม่สามารถเพิ่มอัตราภาษีได้ตลอดเวลา เพราะการเพิ่มอัตราภาษีสูงเกินไป ทำให้ฐานภาษีจะหลบเลี่ยงการเสีย และรายได้ภาษีอาจไม่ได้เพิ่มตามที่คาดการณ์
Figure 7 เส้นLaffer curve ณ จุดสูงสุด การเพิ่มอัตราไม่ทำให้รายได้ภาษีเพิ่มขึ้น รายได้ภาษี ด้านที่ควรจะเป็น ไม่ควรเป็น τ*% อัตราภาษี 0 100%
ภาษีที่เหมาะสมกับผลต่อพฤติกรรมของประชาชนภาษีที่เหมาะสมกับผลต่อพฤติกรรมของประชาชน • เป้าหมายของภาษีที่เหมาะสมคือการวิเคราะห์ที่สามารถแสดงโครงสร้างภาษีที่ทำให้สวัสดิการสังคมสูงสุด พร้อมกับรายได้ภาษีสูงที่สุดด้วย • ซึ่งเงื่อนที่สามารถทำให้ได้เป้าหมายการเก็บภาษีดังกล่าวสามารถแสดงเงื่อนไขการเก็บภาษีได้คือ: • โดย MUiคือthe marginal utility ของบุคคลทั่วไปที่iและMR คือmarginal revenue จากบุคคลต่างๆ
Optimal income taxesAn example • As with optimal commodity taxation, this outcome represents a compromise between two considerations: • Vertical equity • Behavior responses • Figure 8 shows that optimal income taxation equates this ratio across individuals, leading to a higher tax rate for the rich.
รูปที่ 8 MU/MR คนจน คนรวย ภาษีเงินได้ที่เหมาะสมทำให้ (MU/MR) เท่ากันสำหรับทุกๆ คน อัตราภาษี 10% 20%