781 likes | 1.64k Views
การบริหารทรัพยากรมนุษย์. รศ. วันชัย มีชาติ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. การบริหารทรัพยากรมนุษย์. ความหมาย ความสำคัญ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์. ความหมาย. คำที่มักจะใช้ Personnel Administration Human Resource Management. ความหมาย (ต่อ).
E N D
การบริหารทรัพยากรมนุษย์การบริหารทรัพยากรมนุษย์ รศ. วันชัย มีชาติ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การบริหารทรัพยากรมนุษย์การบริหารทรัพยากรมนุษย์ • ความหมาย • ความสำคัญ • กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
ความหมาย • คำที่มักจะใช้ • Personnel Administration • Human Resource Management
ความหมาย (ต่อ) • Stahl: การให้คนในองค์การสามารถปรับตัว และเอาชนะปัญหาต่างๆ ที่เกิดจากองค์การที่กำลังเปลี่ยนแปลง โดยใช้ทักษะ แรงจูงใจ และการให้มีส่วนร่วม • Nigro: ศิลปะการเลือกสรรคนใหม่และใช้คนเก่าในลักษณะให้ได้ผลงาน และการปฏิบัติงานจากบุคคลเหล่านั้นให้ได้มากที่สุด
แนวความคิดในการบริหารงานบุคคลแนวความคิดในการบริหารงานบุคคล • ระบบคุณธรรม: Merit System • หลักความเสมอภาคในโอกาส • หลักความสามารถ • หลักความมั่นคงในอาชีพ • หลักความเป็นกลางทางการเมือง
ความสำคัญของทรัพยากรมนุษย์ความสำคัญของทรัพยากรมนุษย์ คน องค์การที่ ประสบความสำเร็จ ทุน เทคโนโลยี
ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารทรัพยากรบุคคลกับองค์การความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารทรัพยากรบุคคลกับองค์การ เป้าหมายขององค์การ ภารกิจขององค์การ Work Design ทำงานให้บรรลุ การออกแบบงาน Job Design งานที่แต่ละตำแหน่งทำ JA J.S. J.D. ได้คนมาทำงาน กระบวนการในการบริหารงานบุคคล พัฒนาคน จูงใจ รักษาคนไว้ ที่มา : ดัดแปลงจาก Peter Drucken in Stuart Crainer. The Management Century (San Francisco: Jossey-Bass Publishers) 2000, p.XVIII
ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารทรัพยากรบุคคลกับองค์การ (ต่อ) เป้าหมายขององค์การ การวิเคราะห์ทรัพยากร ทรัพยากรที่มีอยู่ ความต้องการ งบประมาณ ภายใน การปรับเปลี่ยนทรัพยากร ภายนอก แผนปฏิบัติการด้านบุคคล การใช้ประโยชน์ การพัฒนาบุคคล การฝึกอบรม การแสวงหาคัดเลือก การรักษาคนไว้ในองค์การ -การแสวงหา -การเลื่อนตำแหน่ง -การโอนย้าย -การออกแบบ -การวางแผนงาน -การประเมินผลงาน -การจ่ายค่าตอบแทน -สภาพการทำงาน -ระบบแรงงานสัมพันธ์ -การพัฒนาองค์การ -การวางแผนอาชีพ -ประสบการณ์การทำงาน
กระบวนการในการบริหารทรัพยากรมนุษย์กระบวนการในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ การสรรหาคัดเลือก การรักษาคน ไว้ในองค์การ การอบรม และพัฒนา การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การใช้ประโยชน์
การได้คนมาทำงาน • การวิเคราะห์งาน • การวางแผนกำลังคน • การสรรหา & คัดเลือก • การเลื่อนตำแหน่ง • การโอนย้าย
การวิเคราะห์งาน: Job Analysis การรวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับงาน ซึ่งจะบอกถึงงานที่จะต้องทำ และคุณลักษณะของผู้ที่จะเข้ามาทำงานดังกล่าว ภารกิจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ วางแผนกำลังคน สรรหา & คัดเลือก จ่ายค่าตอบแทน อบรมพัฒนา ประเมินผลงาน ภารกิจ/ งานที่จะต้องทำ ภารกิจ การวิเคราะห์งาน คุณสมบัติของ ผู้ที่จะทำงาน ความรู้ ทักษะ ความสามารถ
วิธีการวิเคราะห์งาน • การสัมภาษณ์ • การสังเกตการณ์ • การใช้แบบสอบถาม • การใช้บันทึกการทำงานของผู้ปฏิบัติงาน
การวางแผนทรัพยากรมนุษย์การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ กระบวนการในการวิเคราะห์ความต้องการกำลังคนขององค์การภายใต้สภาวะที่เปลี่ยนแปลง เพื่อให้องค์การมีบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถเหมาะสมที่จะปฏิบัติภารกิจต่างๆ ขององค์การได้อย่างเพียงพอในแต่ละช่วงเวลา
การสรรหาคัดเลือก • การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ • การสรรหาบุคคล • การรับสมัครงาน • การสัมภาษณ์เบื้องต้น • การสัมภาษณ์เพื่อจ้างงาน • การทดสอบ • การตรวจสอบการอ้างอิง • การตรวจสุขภาพ • การบรรจุพนักงาน
การทดสอบ • แบบทดสอบทั่วไป • การทดสอบ I.Q. • การวัดบุคลิกภาพ • การวัดความสามารถ • แบบวัดทัศนคติ • การทดสอบทางจิต • แบบทดสอบเฉพาะ • วัดเฉพาะกับงาน
การสัมภาษณ์ • การเตรียมการสัมภาษณ์ • การดำเนินการสัมภาษณ์ • การวิเคราะห์การสัมภาษณ์
การเตรียมการเพื่อการสัมภาษณ์การเตรียมการเพื่อการสัมภาษณ์ • การกำหนดวัตถุประสงค์ • สำรวจงาน: ไม่จ้างทุกตำแหน่งงานที่มีคนออก • ทบทวนงาน: หัวหน้า เพื่อนร่วมงาน ลูกน้อง • เพิ่มสาระของงาน upgrade & downgrade part-time job job sharing freelance
กำหนด Job Requirements • เงินเดือนที่จ่ายได้ • ทักษะของผู้สมัคร • บุคลิกภาพ • ความสามารถพิเศษ • ประสบการณ์ • อารมณ์
การกำหนดวิธีการรับสมัครการกำหนดวิธีการรับสมัคร • การลงโฆษณา • การรับรอง • รูปถ่าย • การใช้ศูนย์สรรหา
การจัดทีมสัมภาษณ์ & สถานที่สัมภาษณ์ • ความเป็นทางการ • สถานที่ • บรรยากาศ
กลยุทธ์การสัมภาษณ์ • Factual • Situational • Confrontational • Technical
การเตรียมคำถาม • จากง่าย ยาก • ปลายเปิด > ปลายปิด การสัมภาษณ์ต้องสังเกตภาษากาย
การควบคุมการสัมภาษณ์ • การเปิดการสัมภาษณ์ • การประเมินผู้สมัคร • การประเมินความสามารถ • การควบคุมการสัมภาษณ์ • การอ่านภาษากาย • การปิดการสัมภาษณ์
การวิเคราะห์การสัมภาษณ์การวิเคราะห์การสัมภาษณ์ • บันทึกข้อประทับใจ • ระวังอคติ • ตำแหน่งที่อยากให้มาทำงาน • แจ้งผล
การรับและการบรรจุพนักงานการรับและการบรรจุพนักงาน • ตรวจสอบการอ้างอิง • ตรวจสุขภาพ • ตรวจประวัติอาชญากร • ทดลองปฏิบัติงาน
การรักษาคนไว้ในองค์การการรักษาคนไว้ในองค์การ • การจ่ายค่าตอบแทน • การสร้างบรรยากาศในการทำงาน • ระบบแรงงานสัมพันธ์
ระบบเงินเดือนค่าจ้าง ค่าตอบแทนที่ดี • ดึงดูดคนเก่ง • จูงใจให้คนทำงาน • รักษาคนที่มีความรู้ให้อยู่กับองค์การ • ควบคุมต้นทุนการทำงาน
หลักการจ่ายค่าตอบแทน • หลักการแข่งขัน • หลักความเป็นธรรม • หลักความสามารถในการจ่าย • หลักความเสมอภาค
รูปแบบการจ่ายเงินเดือนค่าจ้างรูปแบบการจ่ายเงินเดือนค่าจ้าง • ค่าจ้าง • โบนัส • การปันผลจากกำไร ฯลฯ
การสร้างสภาพการทำงาน - ความปลอดภัยในการทำงาน สภาพแวดล้อม บุคคล • การจัดระบบอาคาร, สถานที่ทำงาน สิ่งอำนวยความสะดวก • บรรยากาศการทำงาน ความสัมพันธ์กันของสมาชิก
ระบบแรงงานสัมพันธ์ • การจัดระบบแรงงานสัมพันธ์ที่ดี เงื่อนไขพื้นฐานตามกฎหมาย แรงงานสัมพันธ์เชิงรุก - การให้มากกว่าที่กฎหมายกำหนด - ให้สิ่งที่พนักงานต้องการ - การเปิดโอกาสในการมีส่วนร่วม
การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน การวัดผลสำเร็จและพฤติกรรมการทำงานของผู้ปฏิบัติงานภายในระยะเวลาที่กำหนด ลักษณะของการวัดผลงาน • วัดผลสำเร็จของงาน • วัดในเชิงพฤติกรรม • กระทำโดยผู้บังคับบัญชา • กระทำในระยะเวลาที่กำหนด
ลักษณะของการประเมินผลการปฏิบัติงานลักษณะของการประเมินผลการปฏิบัติงาน • การวัด • การวิจัยประยุกต์ • การตรวจสอบความสอดคล้อง • การบรรยายอย่างลึกซึ้ง • การตัดสินเชิงคุณค่า • เครื่องช่วยในการตัดสินใจ
กระบวนการในการวัดประเมินผลการปฏิบัติงานกระบวนการในการวัดประเมินผลการปฏิบัติงาน • การเตรียมการประเมิน • การดำเนินการประเมิน • การนำผลประเมินไปใช้
การเตรียมการประเมิน • การกำหนดวัตถุประสงค์ในการประเมิน • ฝึกอบรมพัฒนา • สรรหาคัดเลือก • ประเมินผลงาน/ ให้รางวัล
การกำหนดเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินการกำหนดเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมิน • เกณฑ์ด้านคุณลักษณะ • เกณฑ์ด้านพฤติกรรม • เกณฑ์ด้านผลงาน
การกำหนดมาตรฐานในการประเมินการกำหนดมาตรฐานในการประเมิน • มาตรฐานเชิงปริมาณ • มาตรฐานเชิงคุณภาพ • มาตรฐานเชิงพฤติกรรม • มาตรฐานด้านเวลา • มาตรฐานด้านค่าใช้จ่าย
การกำหนดผู้ถูกประเมิน-การกำหนดผู้ประเมินการกำหนดผู้ถูกประเมิน-การกำหนดผู้ประเมิน • หัวหน้า • เพื่อนร่วมงาน • ผู้ใต้บังคับบัญชา • ลูกค้า • ผู้เชี่ยวชาญ • ประเมินตนเอง
การกำหนดเทคนิคในการประเมินการกำหนดเทคนิคในการประเมิน • Rating • Ranking • Checklist • M.B.O. • Critical Incident • Essay • ฯลฯ
การกำหนดระยะเวลา • 3 เดือน • 6 เดือน • 9 เดือน • 1 ปี
การดำเนินการประเมิน การเก็บรวบรวมข้อมูล • สังเกต • สัมภาษณ์ • ทดสอบ • ข้อมูลจากเอกสาร • การใช้แบบสอบถาม
การให้คะแนนและบันทึกผลการให้คะแนนและบันทึกผล • การหาข้อมูลให้พร้อม • การจัดเวลาในการประเมิน • ทำความเข้าใจกับแบบประเมิน • การลดอารมณ์และอคติ • การบันทึกผลการประเมิน • การตรวจสอบผลการประเมิน
การนำผลการประเมินไปใช้การนำผลการประเมินไปใช้ การนำผลไปใช้ตามวัตถุประสงค์ การแจ้งผลการประเมิน • บรรยากาศในการแจ้งผล • มีความชัดเจน • แจ้งผลทุกด้าน • แจ้งผลการประเมินด้วยตนเอง • ต้องไม่ให้ผู้ถูกประเมินประเมินตนเองก่อน • ต้องมีความพร้อมในการแจ้งผล
การฝึกอบรมและการพัฒนาการฝึกอบรมและการพัฒนา ความหมาย:การพัฒนาความรู้ ทักษะ ทัศนคติ ความสามารถของบุคคลในการปฏิบัติงาน ทั้งในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต เพื่อเพิ่มประสิทธิผลขององค์การ โดยที่บุคคลก็มีความเจริญก้าวหน้าขึ้นด้วย
กระบวนการในการฝึกอบรมกระบวนการในการฝึกอบรม • วิเคราะห์ความจำเป็นในการฝึกอบรม • วางแผนการฝึกอบรม • การเขียนโครงการฝึกอบรม • การดำเนินการฝึกอบรม • การประเมินผลการฝึกอบรม