1 / 40

วิสาหกิจชุมชนกับการเข้าสู่แหล่งทุน

วิสาหกิจชุมชนกับการเข้าสู่แหล่งทุน. โดย นางนาฏยา วัฒนา. ผู้ช่วยผู้อำนวยการธนาคารออมสินเขตสงขลา 2. วิสาหกิจชุมชน. SMCE ( SMALL AND MICRO COMMUNITY ENTERPRISE. หมายถึง การประกอบการเพื่อการจัดการ “ ทุนของชุมชน ” อย่าสร้างสรรค์เพื่อพึ่งพาตนเอง

evonne
Download Presentation

วิสาหกิจชุมชนกับการเข้าสู่แหล่งทุน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิสาหกิจชุมชนกับการเข้าสู่แหล่งทุนวิสาหกิจชุมชนกับการเข้าสู่แหล่งทุน โดย นางนาฏยา วัฒนา ผู้ช่วยผู้อำนวยการธนาคารออมสินเขตสงขลา 2

  2. วิสาหกิจชุมชน SMCE ( SMALL AND MICRO COMMUNITY ENTERPRISE หมายถึง การประกอบการเพื่อการจัดการ “ ทุนของชุมชน” อย่าสร้างสรรค์เพื่อพึ่งพาตนเอง ทุนของชุมชน ไม่ได้หมายถึงแต่เพียงเงินอย่างเดียวแต่รวมถึงทรัพยากร ผลผลิต ความรู้ ภูมิปัญญา ทุนทางวัฒนธรรม ทุนทางสังคม ( กฏเกณฑ์ทางสังคมที่ร้อยรัดผู้คนให้อยู่รวมกันเป็นชุมชน เป็นพี่เป็นน้องไว้ใจกัน

  3. ชุมชนมีทุน 3 ทุน ซึ่งเป็นจุดแข็งของตนเอง • ทุนทรัพยากร • ทุนทางวัฒนธรรม • ทุนทางสังคม

  4. แหล่งทุน

  5. แหล่งทุนมีหลายประเภท 1. เงินเก็บ-เงินสะสมของครอบครัว 2. เงินจากเพื่อนฝูง-ญาติพี่น้อง 3. จากผู้ผลิตหรือผู้ขายสินค้า

  6. แหล่งทุนมีหลายประเภท 4.จากบัตรเครดิต 5. จากสถาบันการเงิน

  7. โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบทโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท (สพช.)

  8. โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท (สพช.) เป็นโครงการของธนาคารออมสิน มุ่งสนับสนุนและ ส่งเสริมองค์กรชุมชนให้สามารถพึ่งพาตนเอง และพัฒนาได้อย่างต่อเนื่องยั่งยืน โดยผ่านกระบวนการการบริหารจัดการกลุ่ม

  9. ภารกิจ เพื่อส่งเสริม สนับสนุน องค์กรชุมชน และเครือข่ายองค์กรชุมชนด้านการเงิน ให้สามารถพึ่งตนเอง โดยใช้ชุมชนเป็นแกนหลัก ธนาคารเป็นผู้สนับสนุนการให้สินเชื่อ

  10. หลักการดำเนินงานของ สพช สนับสนุนการสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรชุมชน ส่งเสริมการออมทรัพย์ ใช้สินเชื่อเป็นกลไกในการพัฒนา ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานพันธมิตร โดยใช้กลุ่มหรือชุมชนเป็นศูนย์กลาง

  11. คุณสมบัติและการสมัครเป็นสมาชิกสพช. กรณีเป็นองค์กรชุมชน กรณีเป็นองค์กรพัฒนาเอกชน เป็นชาวบ้าน มีการรวมตัว มีการออม สมาชิกไม่น้อยกว่า 25คน มีการจัดการชัดเจน จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล มีการดำเนินงานมาไม่น้อยกว่า 3 ปี มีการบริหารจัดการชัดเจน มีการแสดงบัญชีงบดุล และมีวัตถุประสงค์ในการจัดหาเงินทุน

  12. กลุ่ม หรือ องค์กรชุมชน กลุ่มชาวบ้านที่มีการรวมตัวกันอย่างต่อเนื่อง มีกิจกรรมร่วมกัน มีการออมทรัพย์ร่วมกัน มีคณะกรรมการที่มาจากการเลือกตั้ง มีระบบการบริหารจัดการที่ดี

  13. องค์กรพัฒนาเอกชน คือ สมาคมหรือมูลนิธิตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ และไม่หวังผลกำไร หรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือขัดต่อกฎหมาย ศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือวัฒนธรรมของชาติ

  14. เอกสารที่ใช้ในการสมัครสมาชิก สพช. รายชื่อคณะกรรมการบริหารกลุ่ม พร้อมตำแหน่งของแต่ละคน และรายชื่อสมาชิก สำเนาบันทึกรายงานการประชุม ของกลุ่มที่เห็นชอบให้เป็นสมาชิก กรณีที่เป็นกลุ่มผู้ประกอบการ OTOP หรือกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่ได้รับการจดทะเบียนตาม พรบ. ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 (ให้แนบมาด้วย)

  15. การเป็นสมาชิก สพช.กลุ่มจะได้รับประโยชน์อะไรบ้าง ? ด้านการพัฒนา ด้านการเงิน

  16. การเป็นสมาชิก สพช. กลุ่มจะได้รับประโยชน์ • การเข้ารับการอบรม • จุลสาร สพช. • สมุดออมสัจจะ • การเข้าเยี่ยมกลุ่ม ฯ • การออกงานจำหน่ายสินค้า • การกู้เงินจากธนาคาร ด้านการพัฒนา

  17. ทางด้านการเงิน. • สินเชื่อที่ให้กับกลุ่ม • สินเชื่อ เพื่อพัฒนาชนบท ( สพช.) • สินเชื่อวิสาหกิจชุมชน • สินเชื่อที่ให้กับสมาชิกภายในกลุ่ม (รายบุคคล) • สินเชื่อโครงการธนาคารประชาชนแบบกลุ่ม • สินเชื่อเพื่อซ่อมแซมหรือต่อเติมที่อยู่อาศัย • สินเชื่อเคหะเพื่อสมาชิก สพช.

  18. ลักษณะการให้สินเชื่อ กับกลุ่มสพช. ให้สินเชื่อแก่กลุ่ม หรือ องค์กรชุมชน ใช้คณะกรรมการกลุ่มค้ำประกัน การพิจารณาให้สินเชื่อเน้นที่ความเข้มแข็งและศักยภาพของกลุ่มเป็นสำคัญ มีการจ่ายเงินค่าตอบแทนให้กลุ่มที่มีวินัยดี

  19. คุณสมบัติผู้กู้ กลุ่มต้องสมัครเป็นสมาชิก สพช. ไม่น้อยกว่า 1 เดือน มีกิจกรรมร่วมกันไม่น้อยกว่า 6 เดือน และมีเงินออม หรือเงินกองทุนอยู่จำนวนหนึ่ง

  20. วัตถุประสงค์ในการกู้เงินวัตถุประสงค์ในการกู้เงิน • เพื่อปรับปรุงหรือขยายกิจกรรมของกลุ่มฯเดิม • ลงทุนในกิจกรรมใหม่ • ก่อสร้าง ซ่อมแซมสาธารณประโยชน์และมีแผนจัดเก็บ รายได้ใช้คืนเงินกู้ • เป็นเงินทุนหมุนเวียนให้สมาชิกกู้ยืม

  21. จำนวนเงินให้กู้ ไม่เกิน 5 เท่าของเงินออม หรือเงินกองทุนที่องค์กรชุมชนมีอยู่ อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 6 ต่อปี กรณีผิดนัดไม่ชำระหนี้ ร้อยละ 8 ต่อปี

  22. การชำระคืนเงินกู้ การชำระคืนเป็นงวด ภายในระยะเวลา 5 ปี ( รายเดือน รายสามเดือน รายหกเดือน และรายปี )

  23. การค้ำประกันเงินกู้ • คณะกรรมการกลุ่ม • หลักทรัพย์ค้ำประกัน

  24. เอกสารประกอบการขอกู้ • มติการประชุมเรื่องการขอกู้เงินจาก สพช. และคำขอกู้เงิน สพช.102 • งบแสดงฐานะการเงิน งบกำไรขาดทุน งบดุล (ถ้ามี) • สำเนารายงานยอดเงินฝากธนาคาร • ผลการดำเนินกิจการของกลุ่มอย่างน้อย 6 เดือน (ถ้ามี) • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้าน • ของคณะกรรมการ • สำเนาโฉนดที่ดินหรือ น.ส. 3 ก (กรณีที่ใช้ที่ดินค้ำประกัน) • แผนผังที่ตั้งโครงการและหรือที่ดินที่นำมาจำนอง

  25. เงินสนับสนุนการพัฒนาองค์กรชุมชนเงินสนับสนุนการพัฒนาองค์กรชุมชน จ่ายให้กลุ่มปีละ 1 ครั้ง เมื่อผู้กู้ชำระหนี้ครบทุกงวดในรอบปีสัญญาและไม่ผิดนัดชำระหนี้ โดยมีเงื่อนไข ดังนี้ จำนวนสมาชิกส่งเงินชำระคืนสม่ำเสมอร้อยละ 98 ขึ้นไป จำนวนสมาชิกออมเงินสัจจะสม่ำเสมอร้อยละ 98 ขึ้นไป มีการจัดสรรเงินกำไรเพื่อเป็นสวัสดิการสำหรับสมาชิก และหรือพัฒนาท้องถิ่น

  26. สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบทเป็นสินเชื่อเพื่อ “พัฒนาคนให้มีวินัยทางการเงิน” ดังนั้นปฏิสัมพันธ์ของสมาชิกกลุ่ม ซึ่งถือเป็นมติทางสังคม จึงเป็นสิ่งจำเป็นและต้องพัฒนาให้คงอยู่ตลอดไป

  27. โครงการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนเข้าสู่แหล่งทุนโครงการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนเข้าสู่แหล่งทุน

  28. โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน • เป็นโครงการความร่วมมือระหว่าง 3 หน่วยงาน • กรมส่งเสริมการเกษตร • ธนาคารออมสิน • มูลนิธิส่งเสริมยุวเกษตรกรไทย ในพระราชูปถัมภ์ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

  29. วัตถุประสงค์ • ส่งเสริมความเข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชนให้สามารถประกอบกิจการได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.2548 • จัดให้มีการสนับสนุนสินเชื่อหรือเงินทุนประกอบการในรูปแบบอื่นอย่างสร้างสรรค์ ควบคู่กับการพัฒนาและบริการทางการเงินให้สามารถสนองความต้องการของวิสาหกิจชุมชนครบวงจร • ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิต ครอบครัวสมาชิกวิสาหกิจชุมชน โดยการปลูกฝังคุณธรรม –จริยธรรม ในการดำรงตนตามหลักปรัชญา“เศรษฐกิจพอเพียง”

  30. บทบาทของธนาคารออมสิน • ส่งเสริมการออม เพื่อเสริมสร้างวินัยทางการเงิน ให้แก่วิสาหกิจชุมชน • การให้สินเชื่ออย่างสร้างสรรค์แก่วิสาหกิจชุมชน เพื่อให้มีโอกาสดำเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนควบคู่กับการพัฒนาศักยภาพ

  31. บทบาทของธนาคารออมสิน (ต่อ) • ร่วมสนับสนุนงบประมาณในการจัดฝึกอบรม • สนับสนุนด้านวิชาการ ติดตามและประเมินผล • ประสานความร่วมมือในการดำเนินงาน ร่วมกับเจ้าหน้าที่เกษตรในพื้นที่

  32. หลักเกณฑ์สินเชื่อวิสาหกิจชุมชนหลักเกณฑ์สินเชื่อวิสาหกิจชุมชน

  33. คุณสมบัติของผู้กู้ 1. เป็นวิสาหกิจชุมชนที่ได้จดทะเบียน ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.2548 2. เป็นสมาชิกโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท(สพช.) ของธนาคารออมสิน 3. เข้าร่วมโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน

  34. เอกสารประกอบการสมัคร สพช. - รายชื่อคณะกรรมการบริหาร พร้อมระบุตำแหน่งของแต่ละคน - มติที่ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และผู้มีอำนาจ ในการสั่งจ่ายเงินจากบัญชีกลุ่ม - สำเนาบันทึกรายงานการประชุมเห็นชอบให้สมัครเป็นสมาชิก สพช. - รายชื่อสมาชิก - เอกสารแสดงการจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน

  35. จำนวนเงินกู้ ไม่เกิน 500,000 บาท พิจารณาตามแผนงาน หรือโครงการ และความสามารถในการชำระคืน ระยะเวลาชำระเงินกู้ ไม่เกิน 5 ปี โดยชำระเป็นงวดรายเดือน , 2 เดือน 3 เดือน , 4 เดือน , 6 เดือน หรือรายปี ตามความสามารถหรือลักษณะกิจกรรมของกลุ่ม

  36. อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ • ตามประกาศธนาคารกำหนด ปัจจุบันร้อยละ 6 ต่อปี หลักประกันเงินกู้ • ใช้บุคคลค้ำประกัน

  37. เอกสารประกอบการขอกู้สินเชื่อวิสาหกิจชุมชนเอกสารประกอบการขอกู้สินเชื่อวิสาหกิจชุมชน • มติการประชุมเรื่องการขอกู้เงินจากโครงการสินเชื่อเพื่อ พัฒนาชนบทธนาคารออมสิน • งบแสดงฐานะทางการเงิน งบกำไรขาดทุน, งบดุล(ถ้ามี) • สำเนารายงานยอดเงินฝากธนาคาร • ผลการดำเนินกิจการของกลุ่มด้านการพัฒนาชนบท อย่างน้อย 6 เดือน (ถ้ามี)

  38. เอกสารประกอบการขอกู้สินเชื่อวิสาหกิจชุมชน(ต่อ)เอกสารประกอบการขอกู้สินเชื่อวิสาหกิจชุมชน(ต่อ) • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของคณะกรรมการ • สำเนาทะเบียนบ้านของคณะกรรมการ • สำเนาโฉนดที่ดิน หรือน.ส. 3 ก (กรณีใช้ที่ดินค้ำประกัน) • แผนผังที่ตั้งโครงการ และหรือที่ดินที่นำมาจำนอง

  39. สินเชื่อที่ให้กับสมาชิกภายในกลุ่ม (รายบุคคล) วงเงินกู้ไม่เกิน 50,000บาท ระยะเวลา 3 ปี ดอกเบี้ย 8 % ต่อปี ชำระดีคืน 1.5% สินเชื่อโครงการธนาคาร ประชาชนแบบกลุ่ม วงเงินกู้ไม่เกิน 100,000บาท ระยะเวลา 5 ปี ดอกเบี้ย 6 % ต่อปี ชำระดีคืน 1% สินเชื่อเพื่อซ่อมแซมหรือ ต่อเติมที่อยู่อาศัยฯ วงเงินกู้ไม่เกิน 200,000บาท ระยะเวลา 20 ปี ดอกเบี้ย 6 % ต่อปี ชำระดีคืน 1% สินเชื่อเคหะ เพื่อสมาชิก สพช.

  40. สวัสดี

More Related