240 likes | 382 Views
ระบบหลักประกันสุขภาพประเทศต่างๆ และการบริหารเขตสุขภาพ. ทพ. วิรัตน์ เอื้องพูลสวัสดิ์ เขต 12 สงขลา. รายชื่อประเทศที่ได้รับการทบทวนระบบหลักประกันสุขภาพ. Canada UK. South Korea Taiwan Australia Denmark Sweden Finland USA. นพ. วิทยา ตันสุวรรณนนท์ นพ. ถาวร สกุลพานิช
E N D
ระบบหลักประกันสุขภาพประเทศต่างๆและการบริหารเขตสุขภาพระบบหลักประกันสุขภาพประเทศต่างๆและการบริหารเขตสุขภาพ ทพ. วิรัตน์ เอื้องพูลสวัสดิ์ เขต 12 สงขลา
รายชื่อประเทศที่ได้รับการทบทวนระบบหลักประกันสุขภาพรายชื่อประเทศที่ได้รับการทบทวนระบบหลักประกันสุขภาพ • Canada • UK. • South Korea • Taiwan • Australia • Denmark • Sweden • Finland • USA. • นพ. วิทยา ตันสุวรรณนนท์ • นพ. ถาวร สกุลพานิช • นพ. สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์ • นพ. ภูวนนท์ เอี่ยมจันทน์ • นพ. ชลอ ศานติวรางคณา • พญ. ขจีรัตน์ ปรักเอโก • ทพ. กวี วีระเศรษฐกุล • ทพ. วิรัตน์ เอื้องพูลสวัสดิ์
รูปแบบการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพรูปแบบการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพ
จัดเก็บภาษี ส่วนใหญ่มีการกระจายอำนาจในระดับต่างๆกัน กลไกการกระจายอำนาจมีตั้งแต่ระดับ regional (county) (Sweden, Denmark)ไปจนถึงตามระดับพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ (Canada) จัดเก็บเบี้ยประกัน ส่วนใหญ่เป็น Centralization เชิงการตัดสินใจ แม้จะมีสาขาตามเขตต่างๆ แต่ก็ดำเนินการเพียงงานธุรการและประสานงานเท่านั้น เปรียบเทียบการกระจายอำนาจของระบบจัดเก็บภาษีและระบบจัดเก็บเบี้ยประกัน
เหตุผลทางการเมือง เป็นความสมดุลระหว่างปัจเจกกับส่วนรวม เป็นความเคารพการมีตัวตนของความหลากหลายของมนุษย์หรือความต้องการสร้างความเป็นหนึ่งเดียวของชาติ เป็นการตัดสินใจระหว่างความเท่าเทียมหรืออิสรภาพ เครื่องมือทางการบริหาร เป็นการแบ่งปันบทบาทและหน้าที่ระหว่างศูนย์กลางและปริมณฑล เป็นตัดสินใจเชิงบริหารระหว่างแบบรวมศูนย์ ไม่ยืดหยุ่น เป็นแบบแผนเดียว กับการตัดสินใจได้อย่างอิสระ หลากหลายไปตามบริบทของพื้นที่ เหตุผลของการกระจายอำนาจหรือรวมศูนย์
Centralization Decentralization • Local diversity • Liberty • Autonomous and diversified decision-making • Tailor-made management • National identity • Equality • Ready-made management
วัตถุประสงค์ของการ regionalization • บูรณาการการบริการทุกระดับให้เกิดความต่อเนื่อง • ส่งเสริมให้งานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเด่นชัด เป็นรูปธรรมมากขึ้น • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน • เกิดธรรมาภิบาลในการบริหาร
องค์ประกอบกรรมการ (board members)ในการบริหาร RHA มาจาก 3 ฝ่ายหลักๆได้แก่ • Provincial/Regional government • Providers • Community members
ระดับการกระจายอำนาจ A continuum of devolution(Mills, 1990) • Deconcentration เป็นการกระจายอำนาจในการบริหารจัดการทั่วไปจากส่วนกลางไปยังสำนักงานเขต • Decentralization เป็นการผ่องถ่ายอำนาจการตัดสินใจส่วนหนึ่งจากส่วนกลางไปยังเขต ภายใต้แนวทางที่ส่วนกลางกำหนดอย่างชัดเจนและเข้มงวด • Devolution เป็นการผ่องถ่ายอำนาจการตัดสินใจจากส่วนกลางเป็นส่วนใหญ่ โดยมีเพียงแนวทาง กว้างๆเท่านั้น
จุดเน้นของ regionalization • Evidenced-base decision-making • Needs-based funding • Improved professional collaboration • Primary care reform
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจที่ดีของกรรมการ RHA • Trainings, specifically in priority setting; health need assessment; and health care legislation and guidelines • Sufficient information, i.e. service cost; service utilization; population needs; key informants’ opinions; service benefits; and citizens’ preferences
เขตสุขภาพและการกระจายอำนาจเขตสุขภาพและการกระจายอำนาจ เขตสุขภาพ ควรมีความลงตัวในเรื่องระบบบริการและระบบการส่งต่อ สามารถตอบสนองต่อความจำเป็นทางสุขภาพของประชาชนในพื้นที่อย่างแท้จริง การกระจายอำนาจเป็นส่วนหนึ่งของคำตอบหรือไม่
Purchasing VS Commissioning ตามหลักการระบบสุขภาพ วัตถุประสงค์สำคัญ 2 ประการได้แก่ การตอบสนองต่อความคาดหวังของประชาชน (responsive to people’s expectation) การใช้จ่ายเงินทางสุขภาพที่เป็นธรรม (fair financial contribution)
Purchaser VS Commissioning ตามหลักการระบบสุขภาพ วัตถุประสงค์สำคัญ 2 ประการได้แก่ การตอบสนองต่อความคาดหวังของประชาชน (responsive to people’s expectation) การใช้จ่ายเงินทางสุขภาพที่เป็นธรรม (fair financial contribution)
หลักคิดพื้นฐานในการเลือกซื้อสินค้าหลักคิดพื้นฐานในการเลือกซื้อสินค้า สิ่งสำคัญก่อนการตัดสินใจซื้อสินค้าคือ 1) การระบุความต้องการได้ชัดเจนในรายละเอียดของตัวสินค้า เช่น รูปลักษณ์ภายนอก สีสัน ความสามารถต่างๆในการทำงานของตัวสินค้า 2) ข้อมูลของตัวสินค้าที่หามาได้ และ 3) ข้อมูลจากบุคคลที่เราเชื่อถือในการช่วยตัดสินใจ
วิวัฒนาการจากบทบาทการเป็นผู้ซื้อ (purchasing) สู่ commissioning บทบาทเดิม • Procurement • Contracting • Monitoring of performance and governance
บทบาทใหม่ • . Health Needs Assessment • 8. Feedback • 2. Data and information • 7. Monitoring of performance and governance • 3. Reviewing service provision • 4. Service redesign and care pathway redesign • 6. Contracting • 5. Procurement/Acquisition
Commissioning หมายถึง กระบวนการที่เรามั่นใจว่าสุขภาพของประชาชนและการบริการที่ประชาชนได้รับจะสนองตอบความจำเป็นของประชาชนอย่างแท้จริง
ข้อควรพิจารณาเพื่อพัฒนาสู่การเป็น commissioner • กำหนดขอบเขตของเขตสุขภาพให้แน่ชัด • กำหนดบทบาทและขอบเขตอำนาจของเขตและส่วนกลางอย่างลงตัว • กำหนดประเภทของบุคลากรที่ควรมีและจำนวนบุคลากรทั้งหมดของเขต • กำหนดโครงสร้างองค์กรที่เอื้อต่อการปรับบทบาทใหม่ • ทบทวนบทบาทเดิมของบุคลากร • พัฒนาศักยภาพบุคลากรในปัจจุบันให้สามารถดำเนินการ commissioning ได้ • จัดเสริมกำลังในส่วนที่ขาดแคลน • กำหนดบทบาทที่ชัดเจนและพัฒนา อปสข. ให้สามารถเป็น commissioning committee ที่พึงประสงค์ • จัดทำแผนพัฒนาสู่การเป็น regional health commissioner อย่างราบรื่น สร้างความเข้าใจกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ และลดความขัดแย้งระหว่างส่วนกลางและเขต