1 / 27

อนาคตประเทศไทยภายใต้ นโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล

อนาคตประเทศไทยภายใต้ นโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล. เหลียวหลัง แลหน้า ประเทศไทยมีความหวังแค่ไหน . นางสุวรรณี คำมั่น เลขาธิการมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาประเทศ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 10 ตค 2556 งานประชุมวิชาการคณะเศรษฐศาสตร์ มธ. เหลียว หลัง : ประเด็น ปัญหาสำคัญของประเทศ.

eugene
Download Presentation

อนาคตประเทศไทยภายใต้ นโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อนาคตประเทศไทยภายใต้ นโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล เหลียวหลัง แลหน้า ประเทศไทยมีความหวังแค่ไหน นางสุวรรณี คำมั่น เลขาธิการมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาประเทศ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 10 ตค 2556 งานประชุมวิชาการคณะเศรษฐศาสตร์ มธ.

  2. เหลียวหลัง:ประเด็นปัญหาสำคัญของประเทศเหลียวหลัง:ประเด็นปัญหาสำคัญของประเทศ การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลก ขีดความสามารถในการแข่งขันลดลง ความเหลื่อมล้ำทางสังคมและความเหลื่อมล้ำทางรายได้ ความไม่สมดุลทางเศรษฐกิจ ความเหลื่อมล้ำอยู่ในเกณฑ์สูง ทั้งด้านโอกาสและรายได้ (Income gap) ขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยลดลง แต่ประเทศอาเซียนปรับเพิ่มสูงขึ้นต่อเนื่อง ขาดการเตรียมโครงสร้างพื้นฐานด้านน้ำ และแนวทางการจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ ทำให้เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ในปี 2554 พึ่งพาการส่งออกกว่า 70 % ขาดการเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศ ขาดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ Logistic อย่างต่อเนื่อง ขาดการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคอย่างทั่วถึง เมื่อภาคส่งออกได้รับผลกระทบจากความผันผวนทางเศรษฐกิจในต่างประเทศ ทำให้กระทบต่อ GDP ต้นทุน Logistic สูง และใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลือง

  3. อนาคตประเทศไทย หลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง รายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้น เป็นศูนย์กลางการเชื่อมโยงเศรษฐกิจในภูมิภาค เป็นศูนย์กลางด้านการค้า การลงทุน ของภูมิภาค ที่มีระบบโครงข่ายคมนาคมและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ที่ทันสมัย เชื่อมโยงอาเซียนกับโลก ความเหลื่อมล้ำน้อยลง ประชาชนทุกกลุ่มมีมาตรฐานการดำรงชีวิตที่มีคุณภาพ ด้วยระบบการศึกษา สาธารณสุข และระบบยุติธรรมที่มีประสิทธิภาพและทั่วถึง เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ศักยภาพในการแข่งขันสูงขึ้น แหล่งผลิตอาหารคุณภาพของโลก อาหาร ปลอดภัย อาหารฮาลาล ส่งเสริมครัวไทยไปสู่ครัวโลก ศูนย์การผลิตรถยนต์และชิ้นส่วน และศูนย์ทดสอบและวิจัยพัฒนารถยนต์และชิ้นส่วนของเอเชีย ศูนย์กลางการให้บริการสุขภาพของภูมิภาคอาเซียน ศูนย์กลางการผลิตพลังงานสะอาดของภูมิภาคอาเซียน เมืองหลวงแห่งการท่องเที่ยวและบริการของอาเซียน

  4. ความท้าทายในอนาคต:เปลี่ยนแปลงในบริบทโลก…ส่งผลต่อเศรษฐกิจและสังคมไทย Major Global Changes Change in Competition Platform & Business Model 1 Technological Change 6Political Change 2 Climate Change Emergence of “the Second Economy” • Conflict • People participation • Disaster • Energy & food security Transforming 3 International Economic Platform Change 5Cultural Change Change in Social System and Interaction 4 DemographicalStructure Change Economic integration & connectivity • Social value change • More individualism Aging Society

  5. Cultural Change • Social value change • Change in Competition Platform & Business Model • การขยายตัวของธุรกิจออนไลน์ • การสร้างมูลค่าเพิ่มจากแบรนด์สินค้า • การขยายตัวของธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม More individualism • Change in Social System and Interaction • บริโภคนิยม/วัตถุนิยมมากขึ้น ให้คุณค่ากับสถานะทางสังคมของคน มากกว่าคุณความดี • ยอมรับคอร์รัปชั่นได้ หากตัวเองได้ประโยชน์ด้วย • มองความต้องการ/ผลประโยชน์ของตนเป็นหลัก มากกว่าส่วนรวม

  6. ความไม่สมดุลในเชิงวัฒนธรรม วัฒนธรรม 4 ภาค วัฒนธรรมชนกลุ่มน้อย ระบบทุนนิยม (Capitalism) และวัตถุนิยม (Materialism) อ่อนน้อม สุภาพ วัฒนธรรมมุสลิม วัฒนธรรมอเมริกัน (Americanization) • การเลื่อนไหลของวัฒนธรรมอย่างไร้พรมแดน • โดยขาดการกลั่นกรองที่ดี ส่งผลกระทบต่อคุณค่า • ความเชื่อ พฤติกรรมในการดำรงชีวิตและ • ปฏิสัมพันธ์ กล่าวคือ • บริโภคนิยม วัตถุนิยม • ขาดจิตสาธารณะ ให้ความสำคัญกับตนเอง • มากกว่าส่วนรวม • วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นถูกละเลย วัฒนธรรมเกาหลี (K-Pop) เคารพผู้ใหญ่ กตัญญู เสรีประชาธิปไตย เชื่อมั่นในสิทธิ อิสรภาพและเสรีภาพ Global Culture Cosmo Culture เชื่อมั่นในสติปัญญาและความสามารถของมนุษย์ สนุกสนาน ร่าเริง วัฒนธรรมญี่ปุ่น (J-Pop) Local Culture National Culture

  7. Demographical Structure Change • แนวโน้มประชากรไทยจะลดลง อัตราการเติบโตของประชากรลดลงโดยเฉลี่ยร้อยละ 0.62 ต่อปี เหตุผลที่สำคัญที่ทำให้สัดส่วนประชากรวัยแรงงานที่ลดลงส่วนหนึ่งมาจากอัตราการเกิด (Total Fertility Rate) ที่ลดลง โดยลดลงจาก ร้อยละ 1.62 ในปี 2553 เป็นร้อยละ 1.30 ในปี 2583 พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2573 พ.ศ. 2583 พ.ศ. 2553 ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง NESDB

  8. Gen X 31- 45

  9. การจัดทำยุทธศาสตร์ประเทศการจัดทำยุทธศาสตร์ประเทศ การให้บริการพื้นฐานตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ (รัฐธรรมนูญ มาตรา 75) ยุทธศาสตร์และภารกิจกระทรวง นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 แผนปฏิบัติการกระทรวง ยุทธศาสตร์ประเทศ ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติการกลุ่มจังหวัด ยุทธศาสตร์จังหวัด แผนปฏิบัติการจังหวัด

  10. การขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลปีที่ 2 : สร้างเศรษฐกิจและสังคมที่เข้มแข็ง • การดำเนินนโยบายต่อเนื่อง • ดำเนินนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล 16 ข้อ อย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย และขยายโอกาส • การแก้ปัญหาเดิม • ด้านโครงสร้างพื้นฐานและปัญหาพื้นฐานเดิม เช่น ลงทุนระบบป้องกันน้ำท่วมและการบริหารจัดการน้ำ ตาม พรก. กู้เงิน 350,000 ล้านบาท • การพัฒนาเพื่อสร้างรากฐาน • เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ระดับประเทศกับยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดให้สอดคล้องกัน ตรงกับศักยภาพและความต้องการของพื้นที่ และเพื่อให้เกิดการจัดสรรงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ • ปฏิรูปการศึกษา • พัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต • ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบคมนาคมขนส่ง โดยออก พรบ. กู้เงิน 2 ล้านล้านบาท • จัดทำเขตการใช้ที่ดินของประเทศ (Zoning) (เกษตร อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว เมือง) • เร่งเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพของภาคการค้า การลงทุน เพื่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • ขยายการค้า การลงทุน การท่องเที่ยวกับประเทศเพื่อนบ้าน • ส่งเสริมการปลูกป่า การใช้พลังงานทดแทน และการพัฒนาเมืองนิเวศ

  11. กรอบยุทธศาสตร์ประเทศ อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ เมืองและพื้นที่ Zoning & Mapping ความเชื่อมโยงในภูมิภาคอาเซียน ศักยภาพการแข่งขันสินค้า/บริการ ปัจจัยสนับสนุน 2. Inclusive Growth 1. Growth & Competitiveness 3. Green Growth 4. Internal Process การเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อม บริหารจัดการทรัพยากรธรรมขาติ แรงจูงใจการทางคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHG)

  12. โอกาสทางเศรษฐกิจ:ภาคการผลิตและบริการที่ไทยมีศักยภาพโอกาสทางเศรษฐกิจ:ภาคการผลิตและบริการที่ไทยมีศักยภาพ 6 อุตสาหกรรมเดิมที่เป็นฐานรายได้ประเทศ เกษตร 5 ข้าว บริการ ผลิตภัณฑ์ยาง อุตสาหกรรมอนาคต ยางพารา อาหาร (ผลไม้ อาหารทะเล เนื้อสัตว์แปรรูป) อุตสาหกรรมพลังงานสะอาด ท่องเที่ยว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ (อาหารเสริม เครื่องสำอาง ยาสมุนไพร ยาแผนโบราณ เครื่องมือแพทย์ ผลิตภัณฑ์ยา) ปิโตรเคมี/พลาสติก ค้าปลีก/ค้าส่ง ผลไม้ Biochemical products/ Bio-plastic/ Bio Materials ก่อสร้าง Biodiesel/Ethanol พืชพลังงาน (มันสำปะหลัง/อ้อย/ปาล์มน้ำมัน) สื่อสารและโทรคมนาคม อุตสาหกรรมอากาศยาน ยานยนต์ ประมง ปศุสัตว์ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (ออกแบบ แฟชั่น อัญมณี โฆษณา สถาปัตยกรรมหุ่นยนต์ OTOP) บริการสุขภาพ Growth rate per year= 2.8 %ต่อปี 2555-60, 4.2 %ต่อปี 2561-70 Growth rate per year= 7.8 %ต่อปี 2555-60, 5.1 %ต่อปี 2561-70 Growth rate per year= 6.1% ต่อปี 2555-60, 5.2 %ต่อปี 2561-70

  13. แนวคิดการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารแนวคิดการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร • การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับวัตถุดิบทางการเกษตรของไทย • วัตถุประสงค์ • ให้ความสำคัญกับการพัฒนาตลอดห่วงโซ่มูลค่า (Value Chain) • การผลิตอาหารที่มีคุณภาพและปลอดภัย และมีความมั่นคงทางอาหารอย่างยั่งยืน • สร้างรายได้และการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทย วัตถุดิบ:สินค้าเกษตร การแปรรูปอาหารProcessed food การบริการ/ตลาด/ร้านอาหาร • การลดการสูญเสียในการแปรรูป • การควบคุมการผลิต • การควบคุมคุณภาพความสะอาดและความปลอดภัยในการแปรรูป • การจัดการด้านการตลาด • การสร้างตราสินค้า • การบรรจุภัณฑ์ • การติดฉลาก • การใช้ที่ดิน / การจัดการน้ำ • การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต • การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว • การโซนนิ่งภาคเกษตร การสร้างสมดุลของอุปสงค์อุปทาน • การพัฒนาโลจิสติกส์ • ระบบขนส่งเชื่อมโยงภูมิภาค • การพัฒนาและยกระดับคุณภาพมาตรฐานการผลิต เช่น สินค้าและอาหารปลอดภัย (GAP GMP HACCP และ อย. เป็นต้น) สินค้าและอาหารฮาลาล สินค้าเกษตรอินทรีย์ 15

  14. ด้านการปฏิรูปการศึกษา แรงงานและอาชีวศึกษาให้เป็นที่ยอมรับใน ระดับสากลและสอดคล้อง กับความต้องการของประเทศ • หลักการ • จัดบริการการศึกษาอย่างมีคุณภาพ และเท่าเทียม • ปรับระบบการศึกษา มุ่งพัฒนาการศึกษาและกำลังแรงงานแบบบูรณาการ • พัฒนาระบบการศึกษาให้มีคุณภาพ มาตรฐานเชื่อมโยงกับมาตรฐานวิชาชีพในระดับสากล • เป้าประสงค์ • ปีการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเป็น 15 ปีและอัตราการอ่านออกเขียนได้เพิ่มเป็นร้อยละ 100 • สัดส่วนผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย • ประเภทอาชีวศึกษา : สายสามัญ เป็น 50:50 • ผลิตภาพแรงงานเพิ่มขึ้น • แรงงานทั้งในและนอกระบบมีหลักประกัน การทำงานที่มั่นคงได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย Growth& Competitiveness InclusiveGrowth Green Growth

  15. การลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม:แผนปฏิบัติการการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิตการลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม:แผนปฏิบัติการการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต • ข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรี (ผู้สูงอายุ) • มอบหมาย พม. และ มท. ศึกษาหารูปแบบดูแล/พัฒนาผู้สูงอายุในระดับพื้นที่อย่างครบวงจร • มอบหมาย กพ. ศึกษาแนวทางการต่ออายุการทำงานของข้าราชการที่เกษียณอายุ • มอบหมาย ศธ. เตรียมความพร้อมประชากรก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ • มอบหมาย กค. เร่งรัด การดำเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมออม เปิดตัว Universal Design ผู้พิการ 14 พ.ค. 2556 ผู้สูงอายุ 1 เม.ย. 2556 เด็กและสตรี # 1 25 ม.ค. 2556 เด็กและสตรี # 2 20ก.พ. 2556 เด็กและสตรี # 3 1 มี.ค. 2556 เปิดตัว OSCC 9 เมษายน 2556 2555 2556 ทิศทางการพัฒนาการศึกษา การผลิตและพัฒนากำลังคนในอนาคต ครั้งที่ 1 (18 ธ.ค. 2555) ผู้พิการ 1 (21 ก.พ. 2556) ผู้พิการ 2 (20 มี.ค. 2556) ทิศทางการพัฒนาการศึกษา การผลิตและพัฒนากำลังคนในอนาคต ครั้งที่ 2 (4 เม.ย. 2556) แรกเกิด/ปฐมวัย นักเรียน ข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรี (ผู้พิการ) การวางแผนยุทธศาสตร์ แบ่งประเภทผู้พิการเป็น ๓ กลุ่ม สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และสามารถประกอบอาชีพได้ การพัฒนาคุณภาพชีวิตโดย 1) จัดทำรูปแบบอาชีพของแต่ละประเภทความพิการให้สามารถประกอบอาชีพตามความสามารถและศักยภาพ 2) ควรมีรูปแบบโรงเรียนเรียนร่วมที่เป็นมาตรฐานเพื่อให้คนพิการได้รับสิทธิอย่างทั่วถึง 3) จัดสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการและผู้สูงอายุ 4) การวิจัยเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีและต่อยอดนวตกรรมต่างๆ การพัฒนาฐานข้อมูล โดยให้มีศูนย์รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลที่เป็นระบบ การจัดนิทรรศการเปิดตัวโครงการฯ โดยต้องมีการนำเสนอสิ่งอำนวยความสะดวกที่เป็นนวัตกรรมซึ่งต้องได้รับการพัฒนาต่อยอดในอนาคต ข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรี (การศึกษา) ระยะสั้น 1) สำรวจภาพรวมความต้องการกำลังคน 2) จัดทำข้อมูลความต้องการกำลังคนในระยะเร่งด่วน โดยให้นำกรอบการลงทุนทั้งการลงทุนในการบริหารจัดการน้ำ และการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ และ 3) ทบทวน กฎหมายด้านแรงงานและระเบียบที่เกี่ยวข้อง ที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาและยกระดับทักษะ ระยะยาว ดำเนินการจัดทำยุทธศาสตร์การยกระดับคุณภาพการศึกษาทั้งระบบ นักศึกษา เด็กและสตรี แรงงาน ทิศทางการพัฒนาการศึกษา การผลิตและพัฒนากำลังคนในอนาคต ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้สูงอายุ

  16. อนาคตประเทศไทยบนเส้นทางสีเขียวอนาคตประเทศไทยบนเส้นทางสีเขียว ประเทศไทยสีเขียว Greening Thailand... Care & Share Keen & Clear สังคมสีเขียว การเมืองสีเขียว ประเทศไทย สีเขียว Green & Clean Free & Fair สิ่งแวดล้อมสีเขียว เศรษฐกิจสีเขียว

  17. Greening Thailand... โมเดลเศรษฐกิจสีเขียว (GreenEconomy) เพิ่มมูลค่า สร้างมูลค่า ไม่สมดุล สมดุล ผุกขาดทางเศรษฐกิจ ประชาธิปไตย ทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจในประเทศ เศรษฐกิจ โลก

  18. สร้างสังคมที่มีคุณภาพ:ความจำเป็นที่ต้องออกแบบทางสังคมใหม่สร้างสังคมที่มีคุณภาพ:ความจำเป็นที่ต้องออกแบบทางสังคมใหม่ • มุ่งเป้าหมายเชิงบูรณาการระหว่างนโยบายพัฒนาสังคม • นโยบายพัฒนาเศรษฐกิจ นโยบายพัฒนาสิ่งแวดล้อม และนโยบายพัฒนาด้านอื่นๆ สภาพแวดล้อมดี สร้างมูลค่าเศรษฐกิจ เศรษฐกิจ มั่งคั่ง การ พัฒนา ยั่งยืน วัฒนธรรม ผู้ประกอบการ ค่านิยมปัจเจก สังคม เอื้ออาทร วัฒนธรรม เกื้อกูล คน ความรู้ คุณธรรม ค่านิยม จิตสาธารณะ ทุนมนุษย์ สังคมอยู่ดีมีสุข คนมีความรู้ ภูมิปัญญา

  19. การพัฒนาที่ฐานราก • เน้นให้ท้องถิ่น/ชุมชนเข้มแข็งจัดการตนเองได้ มุ่งสร้างกลไกและกฎระเบียบที่เอื้อต่อการกระจายผลประโยชน์จากการพัฒนาสู่ชุมชนท้องถิ่น พัฒนาทุนมนุษย์ เรียนรู้ศาสตร์วิทยการ ควบคู่กับสร้างจิตสาธารณะ/กระบวนการ พัฒนาที่เน้นคนเป็นศูนย์กลางด้วยการสนับสนุนจากทุกส่วน ปรับโครงสร้างสังคมให้มีคุณภาพ มีภูมิคุ้มกันแข็งแกร่ง นำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ พัฒนาสังคมที่ฐานราก ท้องถิ่น/ชุมชนเข้มแข็งจัดการตนเองได้ดี ออกแบบสังคมคุณภาพ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

  20. การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ • มีการศึกษาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษระดับพื้นที่กำหนดให้เป็นการศึกษาใน 5 กลุ่มพื้นที่หลัก ดังนี้ • ภาคเหนือ ประกอบด้วยพื้นที่ชายแดนอำเภอแม่สาย อำเภอเชียงแสน อำเภอเชียงของ จ. เชียงราย และอำเภอแม่สอด จ. ตาก • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วยพื้นที่ชายแดนจ.มุกดาหาร จ. นครพนม และ จ. หนองคาย • ภาคตะวันออก ประกอบด้วยพื้นที่ชายแดน จ. สระแก้ว และ จ. ตราด • ภาคตะวันตก ประกอบด้วยพื้นที่ชายแดน จ. กาญจนบุรี • ภาคใต้ ประกอบด้วยพื้นที่ชายแดนอำเภอสะเดา จ.สงขลา และพื้นที่ชายแดน จ. นราธิวาส

  21. แนวทางการพัฒนากลุ่มจังหวัด 18 กลุ่ม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 : อุดรธานี หนองคาย เลย หนองบัวลำภู บึงกาฬ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และวัฒนธรรม การค้าชายแดน และการเกษตร ภาคเหนือตอนบน 1 : เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง ท่องเที่ยว บริการการศึกษา และอุตสาหกรรมสะอาด ภาคเหนือตอนบน2 : น่าน พะเยา เชียงราย แพร่ ท่องเที่ยว การค้าชายแดน และประตูสู่ GMS ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 : สกลนคร นครพนม มุกดาหาร ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมการค้าชายแดน และการเกษตร ภาคเหนือตอนล่าง 1 : พิษณุโลก ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ ท่องเที่ยวมรดกโลก การเกษตร ประตูสู่พม่าและเอเชียใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง : ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด การเกษตร ศูนย์กลางการค้าการลงทุน และการบริการสุขภาพ ภาคเหนือตอนล่าง 2 : กำแพงเพชร พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี ท่องเที่ยว และการเกษตร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 : นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ การเกษตร ท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและอารยธรรมขอม ภาคกลางตอนบน 2 : ลพบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง การเกษตร และท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 : อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ การเกษตร การค้าและการท่องเที่ยวชายแดน ภาคกลางตอนล่าง 1 : กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม การเกษตร ท่องเที่ยว และการค้าชายแดนเชื่อมโยงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภาคกลางตอนกลาง : ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว นครนายก สมุทรปราการ อุตสาหกรรม การเกษตร ท่องเที่ยว และการค้าชายแดน ภาคกลางตอนล่าง 2 : เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร การเกษตร อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปประมงครบวงจร และท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ภาคตะวันออก : ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ศูนย์รวมอุตสาหกรรม การเกษตร ท่องเที่ยว และการค้าชายแดน ภาคกลางตอนบน 1 : นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี สระบุรี อุตสาหกรรมสะอาด การเกษตร และท่องเที่ยวประวัติศาสตร์และชุมชน ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย : สุราษฎร์ธานี ชุมพร นครศรีธรรมราช พัทลุง ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และการเกษตร ภาคใต้ชายแดน : สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส การค้าชายแดน บริการการศึกษา อุตสาหกรรมแปรรูปยางและอาหารทะเล ภาคใต้ฝั่งอันดามัน: พังงา ระนอง ภูเก็ต กระบี่ ตรัง ท่องเที่ยวทางทะเล และสุขภาพ ที่มา: สศช.

  22. ประเด็นเชิงวิกฤต • ประชานิยม กับ นโยบายฐานราก • วัตถุนิยม สุขนิยม บริโภคนิยม • วัฒนธรรมอุปถัมภ์ อำนาจนิยม อภิสิทธิ์นิยม • การพึ่งพิงรัฐ การสร้างความเข้มแข็งในภาคประชาชน • ประเทศไทยในบริบทประชาคมอาเซียน

  23. ขอบคุณ

  24. เครือข่ายสังคม • เครือข่ายความร่วมมือในสังคมเป็นที่มาของการถ่ายทอดต่อยอดความรู้ ทางธุรกิจ และ fine-tune ความคิดเพื่อนำไปใช้จริง • เครือข่ายที่ทำให้ทุกคนต้องมีความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม • ที่มา: The role of Social Capital in Today Economy คุณลักษณะของคนในศตวรรษที่ 21 คุณลักษณะของคนที่ควรเป็น Disciplined Mind เรียนรู้วิทยาการ สมรรถนะและ ทักษะวิชาชีพ Synthesizing Mind Creative Mind Respectful Mind Ethical Mind ที่มา: Howard Gardner: Five Mind for the Future

  25. สถาปัตยกรรมทางสังคม (Social Architecture) สังคมมีคุณภาพ ภูมิคุ้มกันแข็งแกร่ง เศรษฐกิจมั่งคั่ง มั่นคง และยั่งยืน ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมดี ทุนทางสังคม/ทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม/ทุนทางเศรษฐกิจ สถาปัตยกรรมทางสังคม (Social Architecture) คุณภาพมนุษย์ (Human Quality) คุณภาพสังคม (Social Quality) ระบบวัฒนธรรม/ศาสนา ระบบสุขภาพ/สิ่งแวดล้อม ระบบการศึกษา/บริหารจัดการความรู้ ระบบสวัสดิการทางสังคม ระบบความยุติธรรม/ปลอดภัย สันติภาพ ระบบการเมืองการปกครอง โครงสร้างพื้นฐานทางสังคม โครงสร้างพื้นฐานทางสังคม พัฒนาทุนมนุษย์ เรียนรู้ศาสตร์วิทยการ ควบคู่กับสร้างจิตสาธารณะ/กระบวนการ พัฒนาที่เน้นคนเป็นศูนย์กลางด้วยการสนับสนุนจากทุกส่วน ปรับโครงสร้างสังคมให้มีคุณภาพ มีภูมิคุ้มกันแข็งแกร่งนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ พัฒนาสังคมที่ฐานราก ท้องถิ่น/ชุมชนเข้มแข็งจัดการตนเองได้ดี ออกแบบสังคมคุณภาพ NESDB ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง NESDB

  26. 6 K Assessment Natural Capital • Exhaustive use of • Natural resource • Fair Basic Infrastructure • Insufficient access to • technology • Intelligence properties • not protected Physical Capital Financial Capital • Lower literacy rate • Semi-skilled labor force • Lower standard of living Human Capital Natural Capital Physical Capital Tangible Social Capital • Inequality of power, wealth • and opportunity • Social Fragmentation • Informal networking loosely • connected Cultural Capital Social Capital Human Capital Intangible • Deterioration of Thai culture • The influence of global culture Cultural Capital Broad-Based Specific • High degree of foreign • direct investment Financial Capital

More Related