180 likes | 415 Views
แนวทางการบริหารจัดการ ระบบบริการสุขภาพ : ระบบการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ. เศรณีย์ จุฬาเสรีกุล สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ. Powerpoint Templates. ภาพรวมยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านสุขภาพ. วิสัยทัศน์กระทรวงฯ : คนไทยสุขภาพดีฯ. Basic Package. Strategic Focus. Specific Issues.
E N D
แนวทางการบริหารจัดการแนวทางการบริหารจัดการ ระบบบริการสุขภาพ : ระบบการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ เศรณีย์ จุฬาเสรีกุล สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ Powerpoint Templates
ภาพรวมยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านสุขภาพภาพรวมยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านสุขภาพ วิสัยทัศน์กระทรวงฯ : คนไทยสุขภาพดีฯ Basic Package Strategic Focus Specific Issues • โครงการพระราชดำริ/เฉลิมพระเกียรติ • PPP • Medical Hub • ยาเสพติด • ASEAN and International Health • Border Health • จังหวัดชายแดนภาคใต้ • กทม. 5 กลุ่มวัย 61 เป้าหมาย P&P Curative 3 กองทุน 20 เป้าหมาย
เป้าหมายของกระทรวง 10 สาขา 1. หัวใจและหลอดเลือด 2. มะเร็ง 3. อุบัติเหตุ บรรลุ KPI 4.ทารกแรกเกิด 10 สาขา 5. จิตเวช 6. ตาและไต 7. 5 สาขา 8. ทันตกรรม 9. บริการปฐมภูมิทุติยภูมิและสุขภาพองค์รวม 10. NCD 1. การพัฒนาตามเกณฑ์ขีดความสามารถ ระบบบริการ คุณภาพ Back Bone 2. การพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาโรค/ภาวะ ที่เป็นปัญหาสุขภาพ 3. การพัฒนาบริหารจัดการประสิทธิภาพ 4. ระบบการสนับสนุนทรัพยากร นโยบาย กรมต่างๆ นอก สธ. การเมือง สบรส. สนับสนุน
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) VISION “ประชาชนจะเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน โดยเครือข่ายบริการเชื่อมโยงที่ไร้รอยต่อ สามารถบริการเบ็ดเสร็จ ภายในเครือข่ายบริการ”
ความคาดหวังต่อการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ในระดับพื้นที่ • พื้นที่มีกระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์และแผนระดับพื้นที่เพื่อแก้ปัญหา/ภาวะโรคในระดับพื้นที่ที่เป็นรูปธรรม • การบูรณาการดำเนินงานร่วมกันของทุกภาคีระดับพื้นที่ ทั้งการจัดการ แผน งบประมาณ กำลังคน และข้อมูล • การบูรณาการดำเนินงานร่วมกันของทุกภาคีระดับพื้นที่ ทั้งการจัดการ แผน งบประมาณ กำลังคน และข้อมูล
ความคาดหวังต่อการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ในระดับพื้นที่ (ต่อ) ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นคุณค่าของการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค และการดูแลสุขภาพตนเอง การบูรณาการงานบริการสาธารณสุขและงบประมาณ (P&P, รักษา ฟื้นฟูฯ) ในระดับพื้นที่โดยใช้แนวคิด Evidence based การจัดการงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ คุ้มค่า มีระบบการกำกับติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
กรอบอนุสัญญาว่าด้วย การควบคุมยาสูบของ องค์การอนามัยโลก (WHO FCTC) ข้อ 14 การเลิกบุหรี่ และการบำบัดรักษา
มาตรการดำเนินการควบคุมยาสูบ ตาม FCTC ข้อ 14 พัฒนาและเผยแพร่คู่มือฉบับครบถ้วน ครอบคลุมและเหมาะสม ซึ่งตั้งอยู่บนหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ และทางปฏิบัติที่ดีที่สุด โดยคำนึงถึงสถานการณ์ของประเทศและลำดับความสำคัญก่อนหลัง และให้ใช้มาตรการต่างๆ ที่มีประสิทธิภาพเพื่อที่จะส่งเสริม การเลิกใช้ยาสูบ และการรักษา การติดบุหรี่ที่เพียงพอ 1
มาตรการดำเนินการควบคุมยาสูบ ตาม FCTC ข้อ 14 (ต่อ) 2 2.1 ออกแบบ และดำเนินโครงการที่มี ประสิทธิภาพซึ่งมุ่งที่จะส่งเสริมการเลิกใช้ยาสูบในสถานที่ 2.2 รวบรวมการวินิจฉัยโรค และการรักษา การติดบุหรี่ ตลอดจนการให้คำปรึกษาเพื่อการเลิกใช้ยาสูบไว้ในกลยุทธ์ แผนและโครงการด้านสาธารณสุขและการศึกษาแห่งชาติ
มาตรการดำเนินการควบคุมยาสูบ ตาม FCTC ข้อ 14 (ต่อ) 2 2.3 จัดตั้งโครงการศูนย์ฟื้นฟูและอำนวยความสะดวกในการรักษาสุขภาพ เพื่อวินิจฉัยให้คำปรึกษา ป้องกัน และรักษาการติดบุหรี่ 2.4 ร่วมมือกับภาคีอื่นๆ เพื่อให้การรักษา การติดบุหรี่ รวมทั้งผลิตภัณฑ์ยาสามารถ เข้าถึงได้ง่าย และมีค่าใช้จ่ายไม่สูง มากนัก
แผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ พ.ศ. 2555 - 2557
แผนความร่วมมือการควบคุมยาสูบแผนความร่วมมือการควบคุมยาสูบ 1. การพัฒนานโยบายและการบังคับใช้กฎหมาย - คณะกรรมการควบคุมการบริโภคยาสูบแห่งชาติ (คบยช.) - กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข • แผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ • แกนเชื่อมประสาน เสริมพลัง ความเข้มแข็ง 3. การพัฒนาเครือข่าย และการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ และบริการเลิกบุหรี่ - ภาคีรณรงค์ - สื่อมวลชน - องค์กรวิชาชีพสุขภาพ -Quitline (1600) 2. การพัฒนาวิชาการและระบบข้อมูลข่าวสาร - ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้ฯ มหิดล (ศจย.)
มาตรการดำเนินงานที่ส่งผลต่อเป้าหมายมาตรการดำเนินงานที่ส่งผลต่อเป้าหมาย
เป้าหมายสูงสุดการพัฒนาระบบการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบเป้าหมายสูงสุดการพัฒนาระบบการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ
การพัฒนาระบบบริการบำบัดผู้เสพยาสูบการพัฒนาระบบบริการบำบัดผู้เสพยาสูบ • การเพิ่มความเข้มข้นเชิงนโยบายใน การควบคุมยาสูบ ดังนี้ 1. การขยายภาพคำเตือนบนซองบุหรี่ 2. การปรับขึ้นเพดานภาษียาสูบ 3. การห้ามโฆษณาผลิตภัณฑ์ยาสูบทุกประเภท ในทุกรูปแบบ ทั้งทางตรงและทางอ้อม อย่างเคร่งครัด
การพัฒนาระบบบริการบำบัดผู้เสพยาสูบ(ต่อ)การพัฒนาระบบบริการบำบัดผู้เสพยาสูบ(ต่อ) • การจัดระบบบริการเลิกบุหรี่ให้ประชาชนเข้าถึงได้โดยง่าย ดังนี้ • มีนโยบายระบุที่ชัดเจนของภาครัฐ • มีการสั่งการและประเมินผลจาก กระทรวงสาธารณสุข • การดำเนินงานต้องมีการบูรณาการการทำงานและบทบาทหน้าที่ของหลากหลายองค์กรเข้าไว้ด้วยกัน ทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อให้การให้บริการนี้ มีประสิทธิภาพและได้ผลสำเร็จสูงสุด