1 / 67

การเก็บเกี่ยว และ การจัดการผลิตผล

การเก็บเกี่ยว และ การจัดการผลิตผล. โดยอ.อดิเรก รักคง และ อ.จำเริญ ยืนยงสวัสดิ์. การเก็บเกี่ยวคืออะไร. วิธีการใด ๆ ที่ใช้ในการแยกส่วนของพืชที่มนุษย์และสัตว์ใช้เป็นอาหารหรือใช้ประโยชน์ ออกจากต้นเดิมหรือจากสิ่งที่พืชเจริญเติบโตหรืออาศัยอยู่. การจัดการผลิตผลคืออะไร.

ethel
Download Presentation

การเก็บเกี่ยว และ การจัดการผลิตผล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเก็บเกี่ยว และ การจัดการผลิตผล โดยอ.อดิเรก รักคง และ อ.จำเริญ ยืนยงสวัสดิ์

  2. การเก็บเกี่ยวคืออะไร วิธีการใด ๆ ที่ใช้ในการแยกส่วนของพืชที่มนุษย์และสัตว์ใช้เป็นอาหารหรือใช้ประโยชน์ ออกจากต้นเดิมหรือจากสิ่งที่พืชเจริญเติบโตหรืออาศัยอยู่ การจัดการผลิตผลคืออะไร วิธีการปฏิบัติต่อผลิตผลหลังจากที่ได้เก็บเกี่ยวแล้ว

  3. ความสำคัญของการเก็บเกี่ยวและการจัดการผลิตผลความสำคัญของการเก็บเกี่ยวและการจัดการผลิตผล “ หว่านพืชเพื่อหวังผล ” การเก็บเกี่ยวและการจัดการที่ไม่เหมาะสม การสูญเสียทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ

  4. คำถาม นาย ก. ได้ปลูกพืชและดูแลรักษาเป็นอย่างดีจนพืชนั้นเจริญเติบโตงอกงาม แต่นาย ก. มีวิธีการเก็บเกี่ยวและการจัดการผลิตผลที่ไม่ถูกต้องและเหมาะสม ทำให้ผลิตผลที่ได้เกิดความเสียหายและไม่มีคุณภาพ เหตุการณ์นี้เปรียบเทียบได้กับคำพังเพยในข้อใด? ก. ตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ ข. เรือล่มเมื่อจอดตาบอดเมื่อแก่ ค. เสียน้อยเสียยาก เสียมากเสียง่าย ง. ขี่ช้างจับตั๊กแตน

  5. ประเภทของพืชปลูก พืชไร่ พืชสวน - ผัก - ผลไม้ - ไม้ดอกไม้ประดับ - ธัญพืช - ถั่วต่าง ๆ - พืชน้ำมัน - อ้อย - ยางพารา

  6. ความแตกต่างระหว่างผลิตผลพืชไร่และพืชสวนความแตกต่างระหว่างผลิตผลพืชไร่และพืชสวน พืชไร่ พืชสวน - มีน้ำ 10-20 % - มีน้ำ 70-95 % - ขนาดเล็ก - ขนาดใหญ่ - หายใจต่ำ - หายใจสูง - เนื้อเยื่อแข็ง - เนื้อเยื่ออ่อน - สูญเสียยาก - สูญเสียง่าย - สาเหตุการสูญเสีย คือ เชื้อรา แมลง นก หนู - สาเหตุการสูญเสีย คือ เน่า เหี่ยว บาดแผล ช้ำ

  7. การเก็บเกี่ยว หลักสำคัญในการเก็บเกี่ยว - เก็บเกี่ยวเมื่อมีอายุที่เหมาะสม - เก็บเกี่ยวด้วยวิธีการที่เหมาะสม

  8. ทราบได้อย่างไรว่าผลิตผลเจริญเติบโตมาจนถึงวัยที่เหมาะสมต่อการเก็บเกี่ยว?ทราบได้อย่างไรว่าผลิตผลเจริญเติบโตมาจนถึงวัยที่เหมาะสมต่อการเก็บเกี่ยว? ดัชนีการเก็บเกี่ยว - ตัวบ่งชี้ว่าผลิตผลเจริญมาเติบโตมาจนถึงระยะที่เหมาะสมที่จะเก็บเกี่ยว

  9. ชนิดของดัชนีการเก็บเกี่ยวที่นิยมใช้กันชนิดของดัชนีการเก็บเกี่ยวที่นิยมใช้กัน - สี - รูปร่างลักษณะ - การนับอายุ

  10. คำถาม การเก็บเกี่ยวในตัวเลือกข้อใดต่อไปนี้ ที่จะก่อให้เกิดความเสียหายมากที่สุด? ก. เก็บมะม่วงในระยะที่อ่อนเกินไป ข. เก็บผักคะน้าก่อนที่จะถึงระยะเวลาเก็บเกี่ยว 5 วัน ค. เก็บมะเขือเทศเมื่อผลมีสีชมพูเล็กน้อย ง. เก็บข้าวโพดหวานก่อนที่ไหมจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล

  11. ดัชนีการเก็บเกี่ยว “ ตัวบ่งชี้ว่าผลิตผลนั้นมีความเหมาะสมที่จะทำการเก็บเกี่ยว ” • ชนิดของดัชนีการเก็บเกี่ยว - การนับระยะเวลา

  12. 20 - 25 วัน หลังปลูก 18 วัน หลังออกไหม 115 - 130 วัน หลังดอกบาน 40 - 45 วัน หลังตัดปลี

  13. 20 - 25 วัน หลังปลูก 18 วัน หลังออกไหม 115 - 130 วัน หลังดอกบาน 40 - 45 วัน หลังตัดปลี

  14. ดัชนีการเก็บเกี่ยว “ ตัวบ่งชี้ว่าผลิตผลนั้นมีความเหมาะสมที่จะทำการเก็บเกี่ยว ” • ชนิดของดัชนีการเก็บเกี่ยว - การนับระยะเวลา - สี

  15. ดัชนีการเก็บเกี่ยว “ ตัวบ่งชี้ว่าผลิตผลนั้นมีความเหมาะสมที่จะทำการเก็บเกี่ยว ” • ชนิดของดัชนีการเก็บเกี่ยว - การนับระยะเวลา - สี - รูปร่าง

  16. ดัชนีการเก็บเกี่ยว “ ตัวบ่งชี้ว่าผลิตผลนั้นมีความเหมาะสมที่จะทำการเก็บเกี่ยว ” • ชนิดของดัชนีการเก็บเกี่ยว - การนับระยะเวลา - สี - รูปร่าง - ความถ่วงจำเพาะ

  17. มะม่วงน้ำดอกไม้ อ่อน 0.9 - 1.0 แก่ 1.03 - 1.04

  18. ดัชนีการเก็บเกี่ยว “ ตัวบ่งชี้ว่าผลิตผลนั้นมีความเหมาะสมที่จะทำการเก็บเกี่ยว ” • ชนิดของดัชนีการเก็บเกี่ยว - การนับระยะเวลา - สี - รูปร่าง - ความถ่วงจำเพาะ - ปริมาณน้ำตาล

  19. Hand refractometer น้ำตาล > 16 %

  20. วิธีการเก็บเกี่ยว 1. การเก็บเกี่ยวโดยใช้แรงงานคน 2. การเก็บเกี่ยวโดยใช้เครื่องจักรกล 3. การเก็บเกี่ยวโดยใช้สัตว์ช่วยเก็บเกี่ยว

  21. การจัดการผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยวการจัดการผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยว 1. การปฏิบัติต่อผลิตผลก่อนการจำหน่ายหรือก่อนการเก็บรักษา 2. การเก็บรักษา

  22. 1. การปฏิบัติต่อผลิตผลก่อนการจำหน่ายหรือก่อนการเก็บรักษา 1.1 ผลิตผลพืชไร่

  23. การเก็บเกี่ยว การทำให้แห้ง การนวด การทำความสะอาดg) การสี ทำให้แห้งอีกครั้ง การบรรจุ การขนส่ง) การเก็บรักษา การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวผลิตผลพืชไร่ ธัญพืชและถั่วต่าง ๆ

  24. การกรีดยาง น้ำยางสด ผ่านการกรองแยกสิ่งสกปรก กรดฟอร์มิค/กรดอะซิติค ยางจับตัวเป็นก้อน จักรรีดยาง ยางแผ่นหนา 2-3 มม. ผึ่งในที่ร่ม ยางแผ่นดิบ โรงรมควัน อุณหภูมิ 50-60 oซ 4-10 วัน ยางแผ่นรมควัน ขั้นตอนการทำยางแผ่นดิบรมควัน

  25. 1.2 ผลิตผลพืชสวน ผักและผลไม้ ขนส่ง เก็บเกี่ยว โรงคัดบรรจุ

  26. การปฏิบัติในโรงคัดบรรจุการปฏิบัติในโรงคัดบรรจุ - การถ่ายเทผลิตผล - การตัดแต่ง - การทำความสะอาด - น้ำ คลอรีน 50 - 200 ppm - ลม

  27. - การคัดเลือก - การคัดขนาด - การคัดคุณภาพ - การบรรจุหีบห่อ - การลดความร้อน - การเคลือบไข

  28. ดอกไม้ เก็บเกี่ยว แช่โคนก้านดอกในน้ำสะอาด ลดอุณหภูมิ - เก็บในห้องเย็น - วางในที่ร่ม ฉีดพ่นด้วยน้ำสะอาด การบรรจุหีบห่อ - ขนส่งระยะใกล้ - ขนส่งระยะไกล

  29. 2. การเก็บรักษา 2.1 ผลิตผลพืชไร่ ธัญพืชและเมล็ดถั่วต่างๆ สาเหตุการสูญเสียขณะเก็บรักษา แมลง สารเคมี คลุกหรือรม หนู กับดักหนู เชื้อรา สารเคมี *** เก็บในสภาพความชื้นต่ำ เก็บในสภาพที่มีอุณหภูมิต่ำ

  30. 2.2 ผลิตผลพืชสวน ทำไมผลิตผลพืชสวนถึงมีอายุสั้น ? เนื้อเยื่ออ่อน - มีน้ำ 70 - 95 % เหี่ยวง่าย อาหารสะสมหมดไว - มีการหายใจสูง อุณหภูมิสูง เร่งการสุก - มีการสร้าง C2H4 สีเขียว สีเหลือง เร่งการเสื่อมสภาพ

  31. ปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเก็บรักษาพืชสวนปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเก็บรักษาพืชสวน อุณหภูมิ - เป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุด อุณหภูมิ หายใจ C2H4 จุลินทรีย์ “ เก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ำที่สุดโดยที่อุณหภูมินั้นไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อผลิตผล ”

  32. อุณหภูมิที่เหมาะสมสำหรับเก็บรักษาอุณหภูมิที่เหมาะสมสำหรับเก็บรักษา ขึ้นอยู่กับชนิดของผลิตผล ผลิตผลเขตหนาว 0 - 1 o C ผลิตผลเขตอบอุ่น 5 o C ผลิตผลเขตร้อน 12-13 o C อาการสะท้านหนาว Chilling injury

  33. ความชื้นต่ำ สูญเสียน้ำ เหี่ยว O2 CO2 C2H4 ความชื้นในที่เก็บรักษา “ ความชื้นที่เหมาะสมในการเก็บรักษา คือ ความชื้นสัมพัทธ์มากกว่า 80% (พืชหัวที่เป็นลำต้นใต้ดิน) ” องค์ประกอบของบรรยากาศ “ สภาพบรรยากาศที่เหมาะสมสำหรับการเก็บรักษาคือบรรยากาศที่มี O2ต่ำ CO2สูง และ C2H4ต่ำ ”

  34. วิธีการเก็บรักษาผลิตผลพืชสวนวิธีการเก็บรักษาผลิตผลพืชสวน 1. การเก็บรักษาโดยใช้อุณหภูมิต่ำ 2. การเก็บรักษาในสภาพบรรยากาศดัดแปลง 2.1 การควบคุมบรรยากาศ 2.2 การบรรจุหีบห่อ 2.3 การเคลือบผิว

  35. การเก็บรักษา • วัตถุประสงค์ของการเก็บรักษา “ เพื่อต้องการยืดอายุของผลิตผลไว้ให้นานที่สุด โดยที่ผลิตผลยังมีคุณภาพดี ใกล้เคียงกับเมื่อเก็บเกี่ยวมาใหม่ๆ ”

  36. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการสูญเสียของผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยว ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการสูญเสียของผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยว • ปัจจัยภายในผลิตผล 1. การหายใจ - เพราะเหตุใดผลิตผลที่เก็บเกี่ยวออกมาแล้วถึงมีการหายใจ?

  37. ผลเสียของการหายใจ 1.สูญเสียอาหารสะสม -เกิดการเสื่อมสภาพเร็วขึ้น -สูญเสียคุณค่าทางอาหาร -สูญเสียรสชาติ -สูญเสียน้ำหนักแห้ง 2.ปลดปล่อยความร้อน

  38. 2. การคายน้ำ/การสูญเสียน้ำ ผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยวมีการคายน้ำอยู่ตลอดเวลา เพราะ - ต้องระบายความร้อนจากการหายใจ - ความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศในผลิตผลสูงกว่าอากาศภายนอก ผลเสียของการสูญเสียน้ำ - เหี่ยว - เนื้อเหนียว ไม่กรอบ - น้ำหนักลดลง

  39. 3. การผลิตเอทิลีน เอทิลีน เป็นฮอร์โมนพืช ที่มีสถานะเป็น gas ผลของเอทิลีนที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงหลังการเก็บเกี่ยว - เร่งการสุก - เร่งการสลายตัวของ chlorophyll - ใบ และ ดอกร่วง - เร่งการเสื่อมสภาพของดอกไม้

  40. 4. การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางเคมี เปลี่ยนน้ำตาลเป็นแป้ง ข้าวโพดหวาน เปลี่ยนแป้งเป็นน้ำตาล ผลไม้สุก การเพิ่มขึ้นของเส้นใย หน่อไม้ฝรั่ง 5. การพัฒนาและการเจริญเติบโตที่ไม่พึงประสงค์ การงอก หอม กระเทียม มันฝรั่ง มันเทศ การโค้งงอ หน่อไม้ฝรั่ง แกลดิโอลัส

  41. ปัจจัยภายนอกผลิตผล 1. อุณหภูมิ เป็นปัจจัยภายนอกที่สำคัญที่สุด 2. ความชื้นในอากาศ มีผลต่อการสูญเสียน้ำของผลิตผล ความชื้นต่ำ - สูญเสียน้ำมาก ความชื้นสูง - งอก - เน่าง่าย

More Related