1 / 33

ผู้ป่วยภาวะบาดเจ็บที่รุนแรง

ผู้ป่วยภาวะบาดเจ็บที่รุนแรง. รศ.สมชาย รัตนทองคำ ภาควิชากายภาพบำบัด คณะเทคนิคการแพทย์. ชนิดการบาดเจ็บที่รุนแรง. การบาดเจ็บที่ศีรษะ การบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง การบาดเจ็บที่ทรวงอก. การบาดเจ็บที่ศีรษะ. การบาดเจ็บที่หนังศีรษะ (scalp injury) การบาดเจ็บที่กะโหลกศีรษะ (skull fracture)

ethel
Download Presentation

ผู้ป่วยภาวะบาดเจ็บที่รุนแรง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผู้ป่วยภาวะบาดเจ็บที่รุนแรงผู้ป่วยภาวะบาดเจ็บที่รุนแรง รศ.สมชาย รัตนทองคำ ภาควิชากายภาพบำบัด คณะเทคนิคการแพทย์

  2. ชนิดการบาดเจ็บที่รุนแรงชนิดการบาดเจ็บที่รุนแรง • การบาดเจ็บที่ศีรษะ • การบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง • การบาดเจ็บที่ทรวงอก

  3. การบาดเจ็บที่ศีรษะ • การบาดเจ็บที่หนังศีรษะ (scalp injury) • การบาดเจ็บที่กะโหลกศีรษะ (skull fracture) • การบาดเจ็บที่สมองและหลอดเลือดสมอง

  4. การบาดเจ็บที่หนังศีรษะ(scalp injury) • มักเกิดจากแรงกระแทกโดยตรง • ทำให้เกิดรอยฟกช้ำ (contusion) หรือรอยฉีกขาด (laceration) • มักจะไม่ทำให้เกิดความพิการทางสมอง เว้นเสียแต่ • มีการเสียเลือดมาก, เกิดการฉีกขาดของเส้นเลือดที่เลี้ยงสมอง • เกิดแผลติดเชื้อลุกลาม เข้าไปในสมอง

  5. การบาดเจ็บที่กะโหลกศีรษะ(skull fracture) • มักเกิดจากแรงกระแทก หรือภยันตรายอย่างรุนแรง • เกิดการแตกของกะโหลก • มักมีการบาดเจ็บของสมองร่วมด้วย • ไม่ใช่เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดความพิการทางสมอง

  6. การบาดเจ็บที่สมองและหลอดเลือดสมองการบาดเจ็บที่สมองและหลอดเลือดสมอง • มักเกิดร่วมกับ หรือเกิดภายหลังจากกะโหลกศีรษะ ถูกกระแทกอย่างแรง • เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดความพิการทางสมอง

  7. การบาดเจ็บที่สมองและหลอดเลือดสมองการบาดเจ็บที่สมองและหลอดเลือดสมอง • การบาดเจ็บเฉพาะที่ (focal injury) • การบาดเจ็บทั่วสมอง (diffuse brain injury) สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม

  8. การบาดเจ็บเฉพาะที่(focal injury) • มักเกิดจากศีรษะได้รับแรงกระแทกโดยตรง • มักเป็นการบาดเจ็บชนิดที่ศีรษะไม่มีการเคลื่อนไหว • ร้อยละ 50 ที่ต้องได้รับการรักษาในโรงพยาบาล • มักทำให้เกิดรอยช้ำของสมอง (contusion), ก้อนเลือด (hematoma) • บริเวณที่เกิดได้แก่ เหนือเยื่อหุ้มสมองดูรา (epidural), ใต้เยื่อหุ้มสมองดูรา (subdural) และในเนื้อสมอง (intracerebral)

  9. การบาดเจ็บทั่วสมอง (diffuse brain injury) • มักเกิดจากศีรษะถูกกระแทกอย่างรุนแรง • สมองได้รับแรง, ความเร็ว, ความเฉื่อยของศีรษะ • มักเกิดการบาดเจ็บของเนื้อสมองทั้งหมด • ส่งผลให้สมองหยุดทำงานชั่วคราว หลังได้รับภยันตราย • หรืออาจทำลายโครงสร้าง ของสมอง • มักทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต, พิการทางสมอง, ไม่รู้สติเป็นเวลานาน

  10. ความรุนแรงของสมองที่ได้รับบาดเจ็บขึ้นกับปริมาณของเซลล์ประสาทที่ถูกทำลายไปความรุนแรงของสมองที่ได้รับบาดเจ็บขึ้นกับปริมาณของเซลล์ประสาทที่ถูกทำลายไป

  11. พยาธิสภาพของสมองจากการบาดเจ็บพยาธิสภาพของสมองจากการบาดเจ็บ • ระยะที่หนึ่งเกิดขึ้นทันทีภายหลังที่ได้รับบาดเจ็บ, หรือช่วงสั้นๆ หลังได้รับบาดเจ็บ • ระยะที่สองของการบาดเจ็บ ไม่สามารถกำหนดระยะเวลาได้, อาจเป็นชั่วโมง หรือเป็นวัน หลังการบาดเจ็บครั้งแรก

  12. ระยะที่หนึ่งของการบาดเจ็บระยะที่หนึ่งของการบาดเจ็บ • เกิดขึ้นทันที หรือช่วงสั้นๆ หลังจากได้รับบาดเจ็บ • มักมีการทำลายโครงสร้างของสมองอย่างถาวร • มักเกี่ยวข้องกับการฉีกขาดของเนื้อสมอง หรือหลอดเลือดสมอง • มักเกิดเป็นก้อนเลือดคั่งในสมอง • เซลล์สมองตามอาจเนื่องมากจากการกดทับของก้อนเลือด หรือการขาดเลือดมาเลี้ยงสมอง

  13. ระยะที่สองของการบาดเจ็บระยะที่สองของการบาดเจ็บ • ไม่สามารถกำหนดระยะเวลาได้แน่นอน ขึ้นกับพยาธิสภาพ • สามารถป้องกันได้, หากมีการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด • เกิดขึ้นอย่างช้าๆ หลังการบาดเจ็บครั้งแรก • เกิดจากการเพิ่มความดันในโพรงกะโหลกอย่างช้าๆ • เกิดการเคลื่อนที่ของสมองผ่านช่องภายในกะโหลก • เกิดเนื้อสมองตายมากขึ้น

  14. กลไกการบาดเจ็บของสมองกลไกการบาดเจ็บของสมอง วิชาญ ฉมาดล, 2536

  15. องค์ประกอบภายในสมองที่มีผลต่อความดันองค์ประกอบภายในสมองที่มีผลต่อความดัน • เลือด มีปริมาตรประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ • น้ำหล่อเลี้ยงสมอง และไขสันหลัง ประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ • เนื้อสมอง ประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์

  16. ความดันในโพรงกะโหลกศีรษะความดันในโพรงกะโหลกศีรษะ

  17. ความดันในโพรงกะโหลกศีรษะความดันในโพรงกะโหลกศีรษะ

  18. แนวการแก้ไขภาวะความดันสูงในโพรงกะโหลกแนวการแก้ไขภาวะความดันสูงในโพรงกะโหลก • ให้ยาลดบวม เพื่อลดปริมาตรของสมองทั้งส่วนที่ปกติ และส่วนที่ได้รับบาดเจ็บ • จัดท่าให้ศีรษะผู้ป่วยอยู่ในท่าหน้าตรง ศีรษะยกสูงขึ้นเล็กน้อย เพื่อป้องกัน, แก้ไข, และระบายการคั่งของเลือดดำออกจากศีรษะ • เพิ่มการระบายอากาศ โดยการทำกายภาพบำบัดทรวงอก เพื่อระบายเสมหะ เพื่อการระบายอากาศ • การลดปริมาณ CO2 ในเลือดทำให้หลอดเลือดแดงหดตัว ลดปริมาณเลือดแดงในโพรงกะโหลก

  19. องค์ประกอบเสริมให้เกิดการบาดเจ็บระยะที่สองของสมององค์ประกอบเสริมให้เกิดการบาดเจ็บระยะที่สองของสมอง • อัตราความเร็วในการเกิดก้อน, ก้อนเลือดคั่ง • การอุดกั้นของทางเดินน้ำหล่อเลี้ยงสมอง และไขสันหลัง • การอุดกั้นการไหลของเลือดดำจากศีรษะ เช่น การพับงอของคอ • การเพิ่มขึ้นของความดันในโพรงกะโหลก มีผลให้เกิดการขาด/ลดลงของเลือดไปยังสมอง ทำให้เซลล์สมองตาย

  20. สมการแสดงความสัมพันธ์ของความดันในสมองสมการแสดงความสัมพันธ์ของความดันในสมอง • MAP คือ ความดันเลือดแดงเฉลี่ย (80-100 มิลลิเมตรปรอท) • ICP คือความดันในโพรงกะโหลก (น้อยกว่า 10 มิลลิเมตรปรอท) • CPP คือความดันเลือดที่ไปสมอง (40-50 มิลลิเมตรปรอท) CPP =MAP - ICP

  21. วิธีการวัดความดันในโพรงกะโหลกศีรษะวิธีการวัดความดันในโพรงกะโหลกศีรษะ • การใส่สายสวนคาในโพรงกะโหลก (intraventricular catheter) • การวัดความดันจากตำแหน่งใต้เยื่อหุ้มสมอง (subdural pressure) • การวัดความดันที่เนื้อเยื่อหุ้มสมอง (epidural pressure)

  22. วิธีการวัดความดันในโพรงกะโหลกศีรษะวิธีการวัดความดันในโพรงกะโหลกศีรษะ

  23. หลักการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะหลักการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ • ปฐมพยาบายอย่างเหมาะสม • นำส่งผู้ป่วยอย่างเหมาะสม • ควรประเมินผล และช่วยเหลือเบื้องต้น, และเฝ้าสังเกตอาการ • การทำผ่าตัดที่เหมาะสมและทันการ • การดูแลฟื้นฟูสภาพหลังการผ่าตัด

  24. ระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บที่สมองระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บที่สมอง ระดับที่1 • ผู้ป่วยรู้สึกตัวปกติ • ไม่มีอาการแสดงเฉพาะที่ ทางระบบประสาท • อาจมีอาการปวดศีรษะ, คลื่นไส้, อาเจียน • อาจมีประวัติว่าหมดสติไปชั่วครู่ หลังได้รับบาดเจ็บ

  25. ระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บที่สมองระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บที่สมอง ระดับที่ 2 • ผู้ป่วยมีอาการง่วงซึม (lethargic) กว่าปกติ • ยังสามารถทำตามคำบอกได้, ยังรู้สติดี • มีอาการแสดงเฉพาะที่ ทางระบบประสาท เช่น มีการอ่อนแรงครึ่งซีก (hemiparesis) หรือพูดไม่ได้ (aphasia)

  26. ระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บที่สมองระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บที่สมอง ระดับที่ 3 • ผู้ป่วยไม่ค่อยรู้สติ • ไม่สามารถทำตามคำบอกอย่างง่ายๆได้ เช่น ยกมือ, แลบลิ้น • อาจสามารถพูดเป็นคำได้ แต่ไม่เหมาะสมกับคำถาม • การเคลื่อนไหวมีตั้งแต่สามารถรู้ตำแหน่งที่กระตุ้นที่ทำให้เจ็บได้ จนถึงไม่มีการขยับ (flaccid)

  27. ระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บที่สมองระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บที่สมอง ระดับที่ 4 • ผู้ป่วยไม่มีสติ • ไม่มีหลักฐานแสดงว่าสมองทำงาน • ม่านตาขยายขณะใช้ไฟฉาย ส่อง

  28. ผลแทรกซ้อนที่มักเกิดขึ้นในภาวะบาดเจ็บที่สมองผลแทรกซ้อนที่มักเกิดขึ้นในภาวะบาดเจ็บที่สมอง • ความดันโลหิตต่ำ (hypotension) • ปริมาณออกซิเจนในเลือดต่ำ (hypoxemia) • ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง (hypercarbia) • สมองบวม (brain swelling) • ภาวะโซเดียมในเลือดต่ำ (hyponatremia) • ภาวะไข้สูง (hyperthemia) • เกิดก้อนเลือดในโพรงศีรษะ

  29. นิยามการไม่รู้สติ(coma, unconcious) คือการที่ผู้ป่วยไม่สามารถปฏิบัติตามคำสั่ง การไม่สามารถเปล่งเสียงเป็นคำ, การไม่สามารถลืมตาตามคำบอกได้

  30. การตรวจระดับการรู้สติการตรวจระดับการรู้สติ • Teasdale and Jennett ได้คิดวิธีการวัดระดับการู้สติ • เรียกว่า Glasgow Coma Scale (GCS) • คะแนนเต็ม 15 คะแนน • พิจารณาจาก eye opening, motor response, verbal response

  31. Glasgow Coma Scale(15 คะแนน) Scale ranges from 3-15

  32. การบันทึกvital sign • การเปลี่ยนแปลงชีพจร • การหายใจ • ความดันโลหิต • ความดันในโพรงกะโหลกศีรษะ • การบันทึกขนาดของรูม่านตา (มากกว่า 3 mm สมองผิดปกติ)

  33. ภาวะไร้สติต่างๆที่อาจสับสนกับ Coma • Locked in syndrome • akinetic mutism • complete aphasia • ภาวะทางโรคจิต • vegetative • brain death

More Related