1 / 48

โดย รศ.ดร.อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หล่อทองคำ สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.

แนะนำแหล่งทุนวิจัย. โดย รศ.ดร.อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หล่อทองคำ สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล. ผู้จัดการโครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. สสส. ตัวอย่างแหล่งทุนวิจัย. สสวท. วช. ในไทย. สกว. ส.อ.ท. สวทช. สนพ. ภายในมหาวิทยาลัย. ภายนอก. สกอ. สวก.

esme
Download Presentation

โดย รศ.ดร.อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หล่อทองคำ สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนะนำแหล่งทุนวิจัย โดย รศ.ดร.อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หล่อทองคำ สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล. ผู้จัดการโครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  2. สสส. ตัวอย่างแหล่งทุนวิจัย สสวท. วช. ในไทย สกว. ส.อ.ท. สวทช. สนพ. ภายในมหาวิทยาลัย ภายนอก สกอ. สวก. ต่างประเทศ Asialink เงินวิจัย Euro-Thai WHO APT

  3. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) • ฝ่าย 1 นโยบายชาติและความสัมพันธ์ข้ามชาติ • ฝ่าย 2 เกษตร • ฝ่าย 3 สวัสดิภาพสาธารณะ • ฝ่าย 4 ชุมชนและสังคม • ฝ่าย 5 อุตสาหกรรม เช่น ทุน TRF-MAG ( www.trfmag.org) • งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น • ฝ่ายวิชาการ • โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) ทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) • กลุ่มงานมนุษยศาสตร์

  4. ทุนพัฒนานักวิจัยของ สกว. ปี 2552 http://academic.trf.or.th • ทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ (สกว. ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา) • ทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่ • ทุนเพิ่มขีดความสามารถด้านการวิจัยของอาจารย์รุ่นกลาง • ทุนพัฒนานักวิจัย (เมธีวิจัย สกว.) • ทุนองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นพื้นฐานต่อการพัฒนา (วุฒิเมธีวิจัย สกว.) • ทุนส่งเสริมกลุ่มวิจัย (เมธีวิจัยอาวุโส สกว.) ทุกทุนเปิดรับสมัครประมาณกลางปี 2553

  5. ตัวอย่างแหล่งทุน • ทุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช) http://www.nrct.net • ทุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (5 ฝ่าย) http://www.trf.or.th เช่น • - ทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • http://www.trfmag.org • - โครงการทุนพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม เน้น อุตสาหกรรมอาหาร www.trfsme.org และ www.trfsme.net • - ทุนจากโครงการวิจัยแห่งชาติ : ยางพารา • - โครงการทุนพัฒนาแผนธุรกิจนวัตกรรม www.ibpg.net • - ทุนชุดโครงการท่องเที่ยว

  6. ตัวอย่างแหล่งทุน (ต่อ) • 3. ทุนจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา www.mua.go.th • 4. ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (สมศ.) http//:www.onesqa.or.th • ทุนจากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ www.nstda.or.th (5 national research centers) เช่น • - โครงการทุนสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย • - โครงการลงทุนวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยียกเว้นภาษีรายได้ 200% ร่วมกับกรมสรรพากร www.rd.go.th มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการ วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี • - โครงการ ITAP ภายใต้ MTEC www.nstda.or.th/itap

  7. ตัวอย่างแหล่งทุน (ต่อ) • 6. ทุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) www.thaihealth.or.th • 7. ทุนจากสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) www.kmi.or.th • 8. ทุนจากสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.) www.nia.or.th • 9. ทุนจากสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว) http://www.tistr.or.th • 10. ทุนจากสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน www.eppo.go.th • 11. ทุนจากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย htpp://www.fti.or.th • 12. สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.)http://www.arda.or.th

  8. โครงการทุนสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย (Thailand Graduate Institute of Science and Technology, TGIST) โครงการทุน TGIST ภายใต้ สวทช. จากทั้ง 5 ส่วนงาน 1. ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) 2. ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) 3. ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) 4. ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC) 5. ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี (TMC) ** รับสมัครข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่องานวิทยานิพนธ์ โดยนักวิจัยของ สวทช. เป็นผู้เสนอชื่อโครงการวิจัย อาจารย์ที่มีความร่วมมือ (พร้อมประวัติส่วนตัวและผลงาน) และชื่อนิสิต/นักศึกษาปริญญาโทผู้เข้าร่วมโครงการ แนบใบสมัครของนิสิต/นักศึกษาที่มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะรับทุน (ถ้ามี) ** ที่มา: http://www.nstda.or.th/tgist

  9. ทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว.สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (TRF Master Research Grants: TRF-MAG) 1. โครงการเชื่อมโยงภาคการผลิตกับงานวิจัย (MAG Window I) 2. ทุน สกว.ร่วมกับสถาบันการศึกษา (MAG co-funding Window II) 3. ทุน สกว.ร่วมกับสมาคมผู้ค้าอัญมณีไทยและเครื่องประดับ 4. ทุน สกว.ร่วมกับบริษัท PÖYRY ENERGY LTD. http://www.trfmag.org

  10. โครงการเชื่อมโยงภาคการผลิตกับงานวิจัยโครงการเชื่อมโยงภาคการผลิตกับงานวิจัย (MAG Window I)

  11. เงื่อนไขทุน MAG Window I 1. โจทย์วิจัยได้จากอุตสาหกรรม ต้องปรากฏตัวตนของผู้ต้องการความรู้ชัดเจน และแสดงให้เห็นว่าความรู้นั้นสำคัญสำหรับกิจการอุตสาหกรรมนั้น ผู้ประกอบการต้องสนับสนุนเงินสดไม่ต่ำกว่า 20,000 บาท และ in kindเทียบเท่าเงินสดไม่ต่ำกว่า 15,000 บาท 2. การทำโครงงานหรือวิจัยจะต้องมีส่วนทำที่สถานประกอบการ เพื่อบุคลากรอุตสาหกรรมมีส่วนร่วม หรือบุคลากรของอุตสาหกรรมเป็นผู้ทำวิจัยเอง เช่น เป็นนักศึกษาบัณฑิตศึกษา

  12. เงื่อนไขทุน MAG Window I (ต่อ) 3. อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก 1 ท่าน ดูแลได้ ไม่เกิน 2 โครงการ ทั้งนี้ไม่นับรวมโครงการอื่นภายใต้การสนับสนุนของ สกว. 4. สกว. จะทำสัญญาการรับทุนกับอาจารย์ที่ปรึกษาของผู้เสนอโครงการ • เมื่อสิ้นสุดโครงการจะต้องมีงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการภายใต้ประกาศ ของโครงการนี้ หรือสิทธิบัตรสำหรับผลงานตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการนักศึกษาจะต้องนำเสนอแบบปากเปล่า • ระยะเวลาการสนับสนุนค่าจ้างนักศึกษาผู้วิจัยไม่เกิน 18 เดือน นับจากวันที่ทำสัญญาการรับทุน ภายในวงเงิน 270,000 บาท

  13. เงื่อนไขทุน MAG Window I (ต่อ) 7. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยจะคัดเลือกโครงการดีเด่นเพื่อให้นำเสนอในงานนิทรรศการเพื่อประกาศเกียรติคุณและเผยแพร่โครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. สู่สาธารณชน • ในกรณีที่มีเงินสนับสนุนการวิจัยจากบัณฑิตวิทยาลัย และ/หรือ คณะต้นสังกัดของผู้เสนอโครงการ และ/หรือ ผู้ร่วมสนับสนุน เป็นหน้าที่ของผู้รับทุนจะต้องตกลงเรื่องผลประโยชน์ทรัพย์สินทางปัญญากับผู้ร่วมสนับสนุนก่อน สกว. จะไม่เกี่ยวข้อง

  14. เงื่อนไขทุน MAG Window I (ต่อ) 9. สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาให้เป็นตามข้อกำหนดของสถาบันการศึกษานั้นๆ หากไม่มีข้อกำหนดให้ทรัพย์สินทางปัญญาเป็นสิทธิของสถาบันการศึกษานั้น ในกรณีที่ผลงานที่มีศักยภาพและสามารถพัฒนาต่อยอดได้สกว. มีสิทธิที่จะเข้าเจรจาก่อน (right of first refusal) และถ้า สกว. ให้ทุนสนับสนุนต่อโดยอาจร่วมกับหน่วยงานอื่น เช่นภาคอุตสาหกรรม ผลประโยชน์ในทรัพย์สินทางปัญญาและการจัดการทรัพย์สินทางปัญญาจะเป็นไปตามเกณฑ์ของ สกว. ตามสัญญาของทุนใหม่นั้น ๆ ในกรณีที่เป็นโครงการซึ่งทำร่วมกับผู้ร่วมสนับสนุน การรักษาความลับของผลงาน ผลประโยชน์ทางด้านทรัพย์สินทางปัญญา (ถ้ามี) และกรรมสิทธิ์ในอุปกรณ์ที่จะเป็นผลลัพธ์ที่ได้จากโครงการ ให้เป็นการตกลงร่วมกันก่อนเริ่มโครงการระหว่างอาจารย์ที่ปรึกษาและผู้ร่วมสนับสนุนที่ร่วมโครงการ ทั้งนี้ สกว. จะไม่มีส่วนเข้าไปร่วมไกล่เกลี่ยหากมีกรณีพิพาท และหากผู้ร่วมสนับสนุนที่เข้าร่วมโครงการได้กรรมสิทธิ์ในอุปกรณ์นั้นเมื่อสิ้นสุดโครงการและต้องการปิดผลงานเป็นความลับ ผู้ร่วมสนับสนุนจะต้องจ่ายเงินคืนเฉพาะส่วนค่าวัสดุและค่าใช้สอยที่ใช้ในโครงการให้ สกว.

  15. งบประมาณ

  16. กำหนดเวลากิจกรรมของ MAG Window I ปี 2553

  17. ทุน สกว. ร่วมกับสถาบันการศึกษา (MAG co-funding Window II)

  18. เงื่อนไขทุน MAG co-funding Window II • สนับสนุนงานวิจัยในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • สกว.และต้นสังกัดของผู้ยื่นข้อเสนอโครงการร่วมสนับสนุนงบประมาณ 50 : 50 และอาจมีหน่วยงานอื่นหรือมีภาคอุตสาหกรรมเข้าร่วมโครงการ เป็น“ผู้ร่วมสนับสนุน” หรือไม่ก็ได้ • นักศึกษาเป็นผู้เสนอโครงการภายใต้การรับรองของอาจารย์ที่ปรึกษาผ่านบัณฑิตวิทยาลัยหรือคณะต้นสังกัด

  19. เงื่อนไขทุน MAG co-funding Window II (ต่อ) • อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก 1 ท่าน ดูแลได้ ไม่เกิน 2 โครงการ ทั้งนี้ไม่นับรวมโครงการอื่นภายใต้การสนับสนุนของ สกว. • สกว. จะทำสัญญาการรับทุนกับอาจารย์ที่ปรึกษาของผู้เสนอโครงการ • เมื่อสิ้นสุดโครงการจะต้องมีงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการภายใต้ประกาศของโครงการนี้ หรือสิทธิบัตรสำหรับผลงานตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการนักศึกษาจะต้องนำเสนอแบบปากเปล่า • ระยะเวลาการสนับสนุนค่าจ้างนักศึกษาผู้วิจัยไม่เกิน 18 เดือน นับจากวันที่ทำสัญญาการรับทุน ภายในวงเงิน 200,000 บาท

  20. เงื่อนไขทุน MAG co-funding Window II (ต่อ) • สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยจะคัดเลือกโครงการดีเด่นเพื่อให้นำเสนอในงานนิทรรศการเพื่อประกาศเกียรติคุณและเผยแพร่โครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. สู่สาธารณชน • ในกรณีที่มีเงินสนับสนุนการวิจัยจากบัณฑิตวิทยาลัย และ/หรือ คณะต้นสังกัดของผู้เสนอโครงการ และ/หรือ ผู้ร่วมสนับสนุน เป็นหน้าที่ของผู้รับทุนจะต้องตกลงเรื่องผลประโยชน์ทรัพย์สินทางปัญญากับผู้ร่วมสนับสนุนก่อน สกว. จะไม่เกี่ยวข้อง

  21. เงื่อนไขทุน MAG co-funding Window II (ต่อ) • สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาให้เป็นตามข้อกำหนดของสถาบันการศึกษานั้นๆ หากไม่มีข้อกำหนดให้ทรัพย์สินทางปัญญาเป็นสิทธิของสถาบันการศึกษานั้น ในกรณีที่ผลงานที่มีศักยภาพและสามารถพัฒนาต่อยอดได้สกว. มีสิทธิที่จะเข้าเจรจาก่อน (right of first refusal) และถ้า สกว. ให้ทุนสนับสนุนต่อโดยอาจร่วมกับหน่วยงานอื่น เช่นภาคอุตสาหกรรม ผลประโยชน์ในทรัพย์สินทางปัญญาและการจัดการทรัพย์สินทางปัญญาจะเป็นไปตามเกณฑ์ของ สกว. ตามสัญญาของทุนใหม่นั้น ๆ ในกรณีที่เป็นโครงการซึ่งทำร่วมกับผู้ร่วมสนับสนุน การรักษาความลับของผลงาน ผลประโยชน์ทางด้านทรัพย์สินทางปัญญา (ถ้ามี) และกรรมสิทธิ์ในอุปกรณ์ที่จะเป็นผลลัพธ์ที่ได้จากโครงการ ให้เป็นการตกลงร่วมกันก่อนเริ่มโครงการระหว่างอาจารย์ที่ปรึกษาและผู้ร่วมสนับสนุนที่ร่วมโครงการ ทั้งนี้ สกว. จะไม่มีส่วนเข้าไปร่วมไกล่เกลี่ยหากมีกรณีพิพาท และหากผู้ร่วมสนับสนุนที่เข้าร่วมโครงการได้กรรมสิทธิ์ในอุปกรณ์นั้นเมื่อสิ้นสุดโครงการและต้องการปิดผลงานเป็นความลับ ผู้ร่วมสนับสนุนจะต้องจ่ายเงินคืนเฉพาะส่วนค่าวัสดุและค่าใช้สอยที่ใช้ในโครงการให้ สกว.

  22. งบประมาณสนับสนุนจาก สกว. และต้นสังกัด 50 : 50 งบประมาณสนับสนุนต่อโครงการภายใน 18 เดือน ไม่เกิน 200,000 บาท : • ค่าสมนาคุณอาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี) 20,000 บาท (จ่ายหลังจากการตีพิมพ์บทความ) • ค่าจ้างนักศึกษาผู้วิจัย 60,000 บาท (แยกจ่าย 3,000 บาท/เดือน ไม่เกิน 18 เดือน) • ค่าวัสดุ และค่าใช้สอยในการวิจัยไม่เกิน 120,000 บาท ***ต้องเขียนรายละเอียดงบประมาณโดยสังเขป*** งบประมาณระหว่างหมวดค่าวัสดุและหมวดค่าใช้สอยสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม ไม่เกินร้อยละ 20 ของงบประมาณในแต่ละหมวด

  23. สกว. สนับสนุนการเดินทางไปเสนอผลงานในต่างประเทศของนักศึกษาที่ได้รับทุนตั้งแต่ปี 2548 ไม่เกิน 30,000 บาท/โครงการ จำนวนทุนดูประกาศ • ต้องได้รับการตอบรับการนำเสนอแบบปากเปล่า • ส่งเรื่องและเอกสารเพื่อขอรับการอนุมัติก่อน • การพิจารณาทุนใช้ระบบ first-come-first-served ปีการศึกษา 2553 จำนวน 27 ทุน สนับสนุนแบบ co-funding (สกว. : ต้นสังกัดของผู้ยื่นข้อเสนอโครงการ = 50 : 50)

  24. กำหนดเวลากิจกรรมของ MAG co-funding Window II ปี 2552

  25. รายละเอียดโครงการ กรอกบนเว็บไซต์ ความเป็นมาและความสำคัญ (ประมาณ 1 หน้ากระดาษ A4) การพัฒนาโครงการร่วมกับผู้ประกอบการ เฉพาะโครงการที่มีผู้ประกอบการ MAG Window I (ประมาณครึ่งหน้ากระดาษ A4) วัตถุประสงค์ (ระบุให้ชัดเจนใน 1-3 ประโยค)

  26. MAG Window I & II กรอกข้อเสนอโครงการและข้อมูลต่างๆ ทางเว็บไซต์ ได้เสนอโครงการนี้หรือโครงการที่มีส่วนเหมือนกับเรื่องนี้บางส่วนเพื่อขอทุนกับแหล่งอื่นที่ใดบ้าง ไม่ได้เสนอกับแหล่งทุนอื่น เสนอต่อ (ชื่อแหล่งทุน)............................ ชื่อโครงการที่เสนอ........................ กำหนดทราบผล (หรือสถานภาพเท่าที่ทราบ)…………………… เคยได้รับทุนสนับสนุนในโครงการนี้ หรือโครงการที่มีส่วนเหมือนกับเรื่องนี้บางส่วนแล้วจาก……………………………… จำนวนเงิน ……………………. บาท

  27. รายละเอียดโครงการ (ต่อ) วิธีดำเนินการวิจัย(ประมาณ 1 หน้ากระดาษ A4)MAG Window Iโครงการที่ขาดรายละเอียดอาจไม่ได้รับการพิจารณา เพราะไม่สามารถประเมินงบประมาณที่เหมาะสมได้

  28. รายละเอียดโครงการ (ต่อ) วิธีดำเนินการวิจัย (Gantt chart) MAG Window I & II

  29. รายละเอียดโครงการ (ต่อ) การนำไปใช้ (MAG Window I ระบุวิธีการทำงานร่วมกันระหว่างผู้ประกอบการกับนักวิจัย การถ่ายทอดเทคโนโลยีจากผู้วิจัยสู่ภาคการผลิต ) รายชื่อเอกสารอ้างอิง

  30. ต้องแนบส่วนประกอบข้อเสนอโครงการ ประกอบด้วย • บทสรุปย่อผู้บริหาร 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของเรื่อง สกว. ให้ความสำคัญตามนี้ • หัวข้อวิจัยโดยสังเขปที่กำหนดโดยผู้ประกอบการ สกว. และ/หรือ สถาบันการศึกษาต้นสังกัด (ถ้ามี) • ความสำคัญและผลกระทบต่อสังคม • การพัฒนาลงสู่ระดับฐานรากของประเทศ • การพัฒนาต่อยอดในเชิงพาณิชย์ • หัวข้อที่เกิดประโยชน์เชิงนโยบาย เชิงสาธารณะ และอาจมีโอกาสเกิด เทคโนโลยี ใหม่/ผลิตภัณฑ์ใหม่/การประยุกต์ใช้งานแบบใหม่ 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ

  31. ต้องแนบส่วนประกอบข้อเสนอโครงการ ประกอบด้วย (ต่อ) 1.3 แนวทางการทำวิจัย สกว. ให้ความสำคัญในประเด็นต่างๆ ดังนี้ • ความสำคัญและความจำเป็นของวิธีวิจัยที่นำเสนอซึ่งต้องแสดงความชัดเจนในการตรวจสอบผลงานวิจัยและสิทธิบัตรที่เกี่ยวข้อง • วิธีวิจัยที่เสนอเป็นวิธีที่มีความเป็นไปได้ในการแก้ปัญหาเพื่อได้ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์ และสะท้อนงบประมาณ 1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับในเชิงความรู้พื้นฐานและการใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ เช่น เชิงนโยบาย เชิงสาธารณะ และพัฒนาสู่เชิงพาณิชย์ 1.5 แผนการทำงาน แสดงเป็น Gantt chart 1.6 งบประมาณ ** (แยกหมวดค่าตอบแทน วัสดุ และใช้สอย แสดงรายละเอียดโดยสังเขป) ** 1.7 เอกสารอ้างอิง/บรรณานุกรม

  32. ต้องแนบส่วนประกอบข้อเสนอโครงการ ประกอบด้วย (ต่อ) 2. หนังสือยืนยันความร่วมมือจากผู้ร่วมสนับสนุนที่เข้าร่วมโครงการ (กรณีสมัครทุน MAG Window I) • ผลการเรียนของนักศึกษา (ถ้ามี) • แบบฟอร์มข้อมูลรายละเอียดนักศึกษา (ถ้ามีนักศึกษาแล้ว)

  33. โครงการทุน สกว. – สมาคมผู้ค้าอัญมณีไทยและเครื่องประดับ ปีละ 10 ทุน www.trfmag.org

  34. เงื่อนไขการให้ทุน 1. สนับสนุนทุนวิจัยในสาขาอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ เน้นด้านโลหะการ การออกแบบ การจัดการอุตสาหกรรมและการตลาด ฯลฯ 2.โจทย์วิจัยได้จากบริษัทที่เป็นสมาชิกสมาคมฯ ทั้งในระดับสมาชิกและระดับกลุ่มอุตสาหกรรม โดยผ่านการเห็นชอบจากที่ประชุมกลุ่มอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง และผ่านการรับรองของที่ประชุมคณะกรรมการสมาคมฯ 3. การทำโครงงานหรือวิจัยมีส่วนทำที่สถานประกอบการ เพื่อบุคลากรอุตสาหกรรมมีส่วนร่วม หรือบุคลากรของอุตสาหกรรมเป็นผู้ทำวิจัยเอง เช่น เป็นนักศึกษาบัณฑิตศึกษา

  35. เงื่อนไขการให้ทุน(ต่อ)เงื่อนไขการให้ทุน(ต่อ) 4. อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก 1 ท่าน ดูแลได้ ไม่เกิน 2 โครงการ ทั้งนี้ไม่นับรวมโครงการอื่นภายใต้การสนับสนุนของ สกว. 5. สกว. จะทำสัญญาการรับทุนกับอาจารย์ที่ปรึกษาของผู้เสนอโครงการ • เมื่อสิ้นสุดโครงการจะต้องมีงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการภายใต้ประกาศของโครงการนี้ หรือสิทธิบัตรสำหรับผลงานตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการนักศึกษาจะต้องนำเสนอแบบปากเปล่า • ระยะเวลาการสนับสนุนค่าจ้างนักศึกษาผู้วิจัยไม่เกิน 18 เดือน นับจากวันที่ทำสัญญาการรับทุน ภายในวงเงิน 400,000 บาท

  36. เงื่อนไขการให้ทุน(ต่อ)เงื่อนไขการให้ทุน(ต่อ) 8. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยจะคัดเลือกโครงการดีเด่นเพื่อให้นำเสนอในงานนิทรรศการเพื่อประกาศเกียรติคุณและเผยแพร่โครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. สู่สาธารณชน 9. สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาเป็นสิทธิร่วมเท่ากันของสมาคมผู้ค้าอัญมณีไทยและเครื่องประดับ และสกว. 10. ทั้งนี้ บริษัทสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำผลงานวิจัยไปใช้ในกิจการของตนได้โดยอัตโนมัติ ส่วนบริษัทที่เป็นสมาชิกอื่นๆ ของสมาคมให้เป็นไปตามเงื่อนไขของสมาคมกำหนด

  37. หัวข้อวิจัยที่กำหนด ปี 2552 • รูปแบบของอัญมณี Cloning ที่ตลาดต้องการและกลยุทธ์ในการแข่งขันของอัญมณี Cloning เพื่อการส่งออก • แนวโน้มและทิศทางของอุตสาหกรรมเครื่องประดับพลอย และการส่งเสริมของภาครัฐที่ผู้ประกอบการต้องการ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันเพื่อการส่งออก • เครื่องประดับทองไทยก้าวไกลสู่สากล ข้อเสนอโครงการเน้นงานด้านใดด้านหนึ่งต่อไปนี้ หรือทั้งสามด้าน 3.1 ด้านการออกแบบดีไซน์ 3.2 ด้านการผลิต 3.3 ด้านการตลาด หัวข้อวิจัยที่กำหนด ปี 2553 จะประกาศทางเว็บไซต์ www.trfmag.org

  38. งบประมาณ

  39. กำหนดเวลากิจกรรม ปี 2553

  40. โครงการทุน สกว. – บริษัท PÖYRY ENERGY LTD. www.trfmag.org

  41. เงื่อนไขการให้ทุน 1. ผู้เสนอโครงการขอรับทุนต้องเป็นอาจารย์และนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาโท 2. ระยะการทำวิจัยไม่เกิน 18 เดือน 3. การจัดสรรทุน : สกว. และบริษัท PÖYRY ENERGY LTD. จัดสรรเงินอุดหนุนประจำปีฝ่ายละครึ่ง ทุนละ 200,000 บาทจำนวน 1 ทุน

  42. งบประมาณ

  43. หัวข้อกำหนด ปี 2552-2553 1. Biofuel production from algae มีขอบเขตงานดังนี้ media ที่จะใช้เลี้ยงควรจะมีศักยภาพ เช่น น้ำเสียจากโรงงานอาหารทะเล โรงฆ่าสัตว์ ฟาร์ม โดยคัดสายพันธุ์จากธรรมชาติในแหล่งเหล่านั้น อาจมีงานทางพันธุศาสตร์ด้วยก็ได้ 2. Cellulose fermentation for production of biofuel (either alcohol, ketones, propanols, etc.) มีขอบเขตงานดังนี้ ควรมีประเด็นไม่ซับซ้อน เช่น การเตรียม feed stock ที่เหมาะสม งานที่ย่อย cellulose ควรต้อง treat biomass เช่น ฟางข้าว เศษไม้ ระดับหนึ่งก่อนจะเอาเข้า fermentor และสามารถนำข้อมูลมาประยุกต์ใช้ได้จริง

  44. หัวข้อโจทย์วิจัยที่กำหนด ปี 2552-2553 (ต่อ) 3. Water treatment through solar power for desalination and drinking water production มีขอบเขตงานดังนี้ ควรทำน้ำเสียให้เป็นน้ำที่ใช้ประโยชน์สามารถนำกลับมาใช้ในชีวิตประจำวันได้อีก (อุปโภค บริโภค) เพื่อใช้แก้ปัญหาในขณะที่มีภัยพิบัติให้สามารถนำน้ำท่วมนั้นมาบำบัดใช้อุปโภคบริโภคได้ (อาจเป็นลักษณะเครื่องทำน้ำดื่ม Portable) เช่น การนำน้ำท่วมมากรองและฆ่าเชื้อ (ใช้กระแสน้ำเพื่อผลิตพลังงาน)

  45. ปฏิทินทุน สกว. - บริษัท PÖYRY ENERGY LTD.

  46. ผู้จัดการชุดโครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. ว & ท รศ.ดร.อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หล่อทองคำ สำนักงานโครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. ตึกสาขาวิชาวิศวกรรมเคมี ชั้น 6 ห้อง ChE 605 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กทม. 10520 โทรศัพท์ติดต่อการเงิน 0-2326-4423 หรือ 086-777-1895หรือ 086-441-7063 หรือ0-2739-2418-9 ต่อ 152 ติดต่อวิศวกรโครงการ 086-448-4026-7 หรือ 0-2326-4424 หรือ 0-2739-2387 หรือ 0-2739-2418-9 ต่อ 167 โทรสาร 0-2326-4423-4 E-mailtrfmag@kmitl.ac.thหรือ trfmag@yahoo.com http://www.trfmag.org

  47. อฺตตานํ ทมยนฺติ สุพฺพตา ผู้มีประพฤติดี ย่อมฝึกตนอยู่เป็นนิจ ขโณ โว มา อุปจฺจคา อย่าปล่อยกาลเวลาให้ล่วงไป โดยเปล่าประโยชน์ สทตฺถปสุโต สิยา พึงขวนขวายในเป้าหมายของตน

  48. Q & A

More Related