1 / 33

ระเบียบวาระที่ ๑ : เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ

การประชุมคณะทำงาน อาหารปลอดภัย จังหวัดศรีสะ เกษ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๕ วันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๕๕ ห้องประชุมอาคารส่งเสริมสุขภาพ(ชั้น ๒) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะ เกษ. ระเบียบวาระที่ ๑ : เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ.

ermin
Download Presentation

ระเบียบวาระที่ ๑ : เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมคณะทำงาน อาหารปลอดภัย จังหวัดศรีสะเกษครั้งที่ ๑/๒๕๕๕วันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๕๕ ห้องประชุมอาคารส่งเสริมสุขภาพ(ชั้น ๒) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ

  2. ระเบียบวาระที่ ๑ : เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ๑.๑ สรุปผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการด้านอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ …(เอกสารหมายเลข ๑)………………………

  3. ผลการดำเนินงานอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ ๒๕๕๔

  4. กระทรวงเกษตร (หน่วยงานเกษตรจังหวัด) ๑.โครงการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยได้มาตรฐาน ผลการดำเนินงาน:พัฒนาเกษตรกร ๗๐๐ ราย ปลูกพืช ๓ ชนิด พริก, หอมแดง, คะน้า ปัญหา : ๑.ขาดแหล่งจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการรับรองคุณภาพ ๒.ราคาผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการรับรองยังไม่แตกต่างจากสินค้าทั่วไป ๓.ผู้บริโภคยังไม่เห็นประโยชน์ในการบริโภคผักที่ผ่านการรับรองคุณภาพ

  5. กระทรวงเกษตร (หน่วยงานเกษตรจังหวัด) ๒. โครงการเกษตรอินทรีย์ข้าว ผลการดำเนินงาน :สร้างเครือข่ายการผลิตและการตลาด ๑ เครือข่าย พื้นที่ ๒ ตำบล ๑ อำเภอ ปัญหา : พื้นที่เป้าหมายยังไม่ครอบคลุมเกษตรกรส่วนใหญ่

  6. กระทรวงเกษตร (หน่วยงานปศุสัตว์จังหวัด) ๑.โครงการควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ที่ผลิต และวางจำหน่ายผลการดำเนินงาน - ตรวจสอบโรงงานผลิตอาหาร ๙ แห่ง - เก็บตัวอย่างอาหารตรวจสอบทะเบียนสูตร ๑๔ ตัวอย่าง - ตรวจร้านขายอาหารและขายยาสัตว์ ๓๒๔ ร้าน

  7. กระทรวงเกษตร(หน่วยงานปศุสัตว์จังหวัด)กระทรวงเกษตร(หน่วยงานปศุสัตว์จังหวัด) ๒.โครงการควบคุมคุณภาพการผลิตสัตว์ - ตรวจติดตามฟาร์มมาตรฐาน ไก่เนื้อ และสุกร - ตรวจสอบสุขภาพไก่เนื้อ และเป็ดเนื้อ ๓.โครงการตรวจสอบและรับรองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ - เก็บตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับใบอนุญาตตรวจหายาสัตว์ตกค้างและเชื้อจุลินทรีย์ - แก้ไขปัญหาการใช้สารเร่งเนื้อแดง - ตรวจสอบสารตกค้างในสัตว์ปีกและไก่ไข่ - ตรวจสอบอาหารสัตว์ที่ฟาร์ม เพื่อหาสารกลุ่ม Nitrofuran

  8. กระทรวงเกษตร(หน่วยงานปศุสัตว์จังหวัด)กระทรวงเกษตร(หน่วยงานปศุสัตว์จังหวัด) ๔.โครงการพัฒนาโรงฆ่าสัตว์และสถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์ - ตรวจรับรองสถานที่จำหน่ายเนื้อสัตว์ ๓ แห่ง

  9. กระทรวงมหาดไทย (หน่วยงานพัฒนาชุมชนจังหวัด) ๑.โครงการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ผลการดำเนินงาน - ผลิตภัณฑ์ชุมชนได้รับการคัดสรร อาหาร ๓๗ ผลิตภัณฑ์ เครื่องดื่ม ๓ ผลิตภัณฑ์ - กิจกรรม Road Show OTOP ๔ ครั้ง

  10. กระทรวงอุตสาหกรรม (หน่วยงานอุตสาหกรรมจังหวัด) ๑.โครงการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ผลการดำเนินงาน : ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้านอาหารได้รับการรับรอง มาตรฐาน มผช.

  11. กระทรวงสาธารณสุข(สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ)กระทรวงสาธารณสุข(สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ) ๑.โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพชุมชน ผลการดำเนินงาน : ตรวจสถานที่ผลิตอาหารผ่านเกณฑ์ ๓๖ แห่ง ตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้านอาหาร ๑๒ ตัวอย่าง ๒.โครงการพัฒนายกระดับตลาดน่าซื้อ ผลการดำเนินงาน : ตลาดสด ผ่านเกณฑ์ระดับ ๓ ดาว ๑๓ แห่ง ผ่านเกณฑ์ระดับ ๕ ดาว ๑ แห่ง

  12. กระทรวงสาธารณสุข(สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ)กระทรวงสาธารณสุข(สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ) ๓.โครงการพัฒนายกระดับร้านและแผงลอยจำหน่ายอาหารและ การสุขาภิบาลอาหารในครัวเรือน ผลการดำเนินงาน - ร้านและแผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์อาหารสะอาด รสชาติอร่อย ร้อยละ ๙๔.๑๒

  13. ผลการสำรวจสุขาภิบาลอาหารในครัวเรือนพบว่า : - ล้างผักก่อนบริโภค ร้อยละ ๘๐.๑๖ -รับประทานอาหารปรุงสุก ร้อยละ ๖๓.๙๔ -ใช้เครื่องปรุงรสที่มีมาตรฐานรับรอง ร้อยละ ๖๔.๒๕-ใช้เกลือปรุงรสที่มีไอโอดีน ร้อยละ ๕๙.๓๗ -ปรุงอาหารรสจัด ร้อยละ ๑๒.๑๓ -ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร ร้อยละ ๔๕.๒๐ -ใช้ช้อนกลาง ร้อยละ ๒๖.๓๐ -ปลูกผักไว้กินเองที่บ้าน ร้อยละ ๓๐.๕๕

  14. ๔.โครงการพัฒนาความรู้และสร้างเครือข่าย๔.โครงการพัฒนาความรู้และสร้างเครือข่าย ผลการดำเนินงาน : - อบรมวิทยากรระดับอำเภอด้านการสุขาภิบาลอาหาร ๑ ครั้ง ๒๒อำเภอ - อบรม อสม.ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค รพสต.ละ ๑ คน - ศึกษาดูงานและเปลี่ยนเรียนรู้ ๑ ครั้ง - จัดรายการวิทยุทางเครือข่าย สวท.จังหวัดศรีสะเกษ ทุกวัน พุธ-พฤหัสบดี เวลา ๑๓.๓๐-๑๔.๐๐น.จำนวน ๑๑ ครั้ง

  15. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๔.โครงการพัฒนาความรู้และสร้างเครือข่าย (ต่อ) ผลการดำเนินงาน : - จัดเวทีแสดงนวัตกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้บริโภคให้สามารถดูแล ปกป้องสิทธิประโยชน์ของตนเองและชุมชน ในกรอบของกฎหมาย ในวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๔ - การอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการด้านอาหาร(ขอข้อมูลเพิ่ม) - การตรวจร้านและแผงลอยเพื่อต่ออายุป้ายรับรองมาตรฐาน - สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาผู้ประกอบการ

  16. สรุป ผลงานตามตัวชี้วัด - ด้านปริมาณส่วนใหญ่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน - ด้านคุณภาพยังขาดความยั่งยืนในการรักษามาตรฐาน ปัญหาอุปสรรค(สรุปใหม่) -ขาดความต่อเนื่องและยั่งยืนในการพัฒนา

  17. สรุป ข้อเสนอแนะ ๑. การพัฒนาทีมงานที่มีองค์ความรู้ ๒.การสร้างแรงจูงใจผู้ประกอบการและผู้บริโภค ๓.สร้างเครือข่ายให้มากขึ้นและจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

  18. ระเบียบวาระที่ ๑ : เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ๑.๒ ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ด้านอาหารปลอดภัย ปี ๒๕๕๔ (กพร.) …(เอกสารหมายเลข ๒ )………………………

  19. รายการตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัด และจังหวัด” ประจำปีงบประมาณ 2555

  20. ระเบียบวาระที่ ๒ : เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา ๒.๑ ร่างแผนบูรณาการด้านอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ( เอกสารหมายเลข ๓ ) …………………………

  21. ระเบียบวาระที่ ๒ : เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา ๒.๒ การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงามตามมาตรฐาน การปฏิบัติงาน ( SOP :Standard of Procedure ) …(เอกสารหมายเลข ๔)………………………

  22. 3 2 1 4 แหล่งผลิตวัตถุดิบ (ต้นน้ำ) แปรรูป (กลางน้ำ) จำหน่าย (ปลายน้ำ) ผู้บริโภค Flowchart Food Safety

  23. Company Logo

  24. Company Logo

  25. รายละเอียดที่ควรมีในคู่มือรายละเอียดที่ควรมีในคู่มือ ๑.ชื่อเรื่อง ๒.วัตถุประสงค์ ๓.วิธีการปฏิบัติงานหรือขั้นตอนการปฏิบัติงาน ๔.แบบฟอร์มที่ใช้ประกอบ Company Logo

  26. ระเบียบวาระที่ ๒ : เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา ๒.๓ กำหนดจุดประสานงานและเครือข่ายการจัดการกรณีเกิดอุบัติการณ์ด้านความปลอดภัยอาหารแบบบูรณาการในระดับจังหวัด ………(เอกสารหมายเลข ๕ )…………………

  27. ๑. กรณีมีเรื่องร้องเรียน ผู้ร้องเรียน พนักงานเจ้าหน้าที่ฯ แจ้งเรื่องร้องเรียน แนวทางการดำเนินงานกรณีพบอาหารไม่ปลอดภัย พนักงานเจ้าหน้าที่ฯ แจ้งเรื่องร้องเรียน แก่ผู้ถูกร้องเรียน ๒. พนักงานเจ้าหน้าที่ ตรวจสอบข้อเท็จจริง ๑. ผู้ถูกร้องเรียน พนักงานเจ้าหน้าที่ ให้คำแนะนำในการแก้ไข ปัญหาแก้ผู้ร้องเรียน ผู้ถูกร้องเรียน รับเรื่องร้องเรียน ๔. ๓. พนักงานเจ้าหน้าที่ แจ้งผลการดำเนินงาน แก่ผู้ร้องเรียน ภายใน ๖๐ วัน พนักงานเจ้าหน้าที่ ตรวจสอบการดำเนินงาน ของผู้ถูกร้องเรียนตาม คำแนะนำ ผู้ถูกร้องเรียนดำเนินการ แก้ไขปัญหา ๖. ๘. ๕. พนักงานเจ้าหน้าที่ สรุปผลการดำเนินงาน ๗.

  28. ๒. กรณีตรวจพบสารปนเปื้อนในอาหารสด สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ/โรงพยาบาลชุมชน/ อปท. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด จัดทำแผนร่วมกัน ๑@ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข/อปท ตรวจอาหารเพื่อหาสารปนเปื้อนโดย Test Kit เจ้าหน้าที่สาธารณสุข/อปท เก็บอาหารสด แนวทางการดำเนินงานกรณีพบอาหารไม่ปลอดภัย แจ้งผลการตรวจพบสารปนเปื้อนแก่ จนท.สธ./อปท/หรือ ผู้ประกอบการ ด้วยวาจา เอกสาร กรณีตรวจพบสารปนเปื้อน ๒ ๑ จนท.ตรวจสอบแหล่งอาหารไม่ปลอดภัย และตรวจซ้ำ หาสารปนเปื้อนในอาหาร จนท.ให้ความรู้ผู้ประกอบการ ส่งข้อมูลให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ถ้าตรวจพบ ให้หยุดจำหน่ายอาหารชนิดนั้น หรือนำอาหารจากที่อื่น มาจำหน่าย จนท.สธ.ตรวจสอบซ้ำภายใน ๑๕ วัน ถ้าตรวจพบสารปนเปื้อนในอาหารซ้ำ เก็บตัวอย่างอาหารชนิดนั้นส่งศูนย์วิทย์ฯ เพื่อดำเนินคดี

  29. ระเบียบวาระที่ ๓ :เรื่องอื่นๆ …………………………………………………………………………………………………………………………………………….

More Related