1 / 27

แวววิชาชีพ โดย ดร. ญาณภัทร สีหะมงคล

แวววิชาชีพ โดย ดร. ญาณภัทร สีหะมงคล. แวววิชาชีพ.

eris
Download Presentation

แวววิชาชีพ โดย ดร. ญาณภัทร สีหะมงคล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แวววิชาชีพ โดย ดร. ญาณภัทร สีหะมงคล

  2. แวววิชาชีพ คุณลักษณะที่แสดงถึง ความสนใจ และความถนัด ของบุคคลที่มีต่ออาชีพต่างๆ ที่ได้จากการสะสมประสบการณ์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นคุณลักษณะที่แฝงอยู่ในตัวบุคคล พร้อมที่จะเรียนรู้และพัฒนาเพิ่มเติมเพื่อให้บุคคลมีความเป็นเลิศในการเรียนรู้สาขาวิชาชีพต่างๆ ที่เปิดสอนในระดับอาชีวศึกษา ซึ่งส่งผลต่อความสำเร็จและความเป็นเลิศในการประกอบอาชีพในอนาคต

  3. ความถนัด + การฝึกฝน = ความสำเร็จ (Snow. 1980) แวววิชาชีพ = ความสนใจ + ความถนัด + การฝึกฝน = ความสำเร็จความเป็นเลิศ

  4. ความสนใจ • หมายถึง ความรู้สึกชื่นชอบกิจกรรมหนึ่งมากกว่า • กิจกรรมอื่น ๆ อาจเปรียบเทียบกิจกรรมที่เขาชื่นชอบ • อย่าง เช่น เด็กคนหนึ่งชอบร้องเพลงมากกว่า • การทำโจทย์คณิตศาสตร์ เป็นต้น

  5. ทฤษฎีเกี่ยวกับความสนใจทฤษฎีเกี่ยวกับความสนใจ ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory) : คุณลักษณะทางบุคลิกภาพ มีอิทธิพลต่อการเลือกงาน ที่บุคคลสนใจ ทฤษฎีการพัฒนาของซุปเปอร์ (Super’s Developmental Theory) : ความสนใจเป็นตัวกำหนดในการเลือกสายการเรียน และ การประกอบอาชีพ

  6. ขั้นพัฒนาทางอาชีพ 5 ขั้น 1) ขั้นการเจริญเติบโต แรกเกิด - 14 ปี 2) ขั้นสำรวจ อายุ 15 - 24 ปี 3) ขั้นสร้างหลักฐาน อายุ 25 - 44 ปี 4) ขั้นการดำรงชีวิตที่มั่นคง อายุ 45 - 64 ปี 5) ขั้นความเสื่อมถอย อายุ 65 ขึ้นไป * อายุ 14 - 18 ปี เป็นช่วงความสนใจในการเลือกอาชีพ แต่ความสนใจในการเลือกอาชีพที่ถือว่าแน่นอนอยู่ในช่วงอายุ 25 ปี ขึ้นไป

  7. ความถนัด (Aptitude) หมายถึง คุณลักษณะพื้นฐานในปัจจุบันของบุคคล ที่บ่งบอกให้ทราบสมรรถวิสัย (capacity) หรือศักยภาพ (Potentiality) ของบุคคลนั้นว่า มีขีดความสามารถในการเพิ่มพูนความชำนาญ การเรียนรู้ และความสำเร็จในอนาคตมากน้อยเพียงใด (ไพศาล หวังพานิช, 2526)

  8. ความถนัดไม่ได้เป็นผลหรือมรดกที่เกิดจากพันธุกรรมความถนัดไม่ได้เป็นผลหรือมรดกที่เกิดจากพันธุกรรม ของบุคคล แต่เกิดจากการสะสมหรือก่อตัวมาจาก ประสบการณ์ทุกอย่างของบุคคล ดังนั้นการฝึกฝนและสิ่งแวดล้อมจะเป็นสิ่งที่ช่วยให้ เกิดการก่อตัว สะสม ตกผลึกเป็นความถนัดของ คนเรา

  9. หลักการวัดความถนัด ส่วนใหญ่นิยมใช้แบบทดสอบ เรียกว่า แบบทดสอบความถนัด (Aptitude test)

  10. 1. เป็นการวัดความสามารถโดยอาศัยการบูรณาการ ประสบการณ์ การเรียนรู้ที่มีอยู่ของบุคคล ซึ่งต่างจากแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ ที่ต้องการวัดในเนื้อหาของการเรียนในหลักสูตรเท่านั้น 2. นิยมใช้เป็นแบบทดสอบที่จำกัดเวลา (Speed test) 4. การเลือกใช้แต่ละครั้ง ควรพิจารณาถึงธรรมชาติของ สาขาที่จะเลือกเรียนให้ละเอียดรอบคอบ ซึ่งจะม ความสัมพันธ์กับความเที่ยงตรงในการทำนาย ความสำเร็จในการเรียนด้วย 3. ความถนัดไม่ใช่ความสามารถเพียงด้านเดียว แต่เป็น ความสามารถหลายด้านผสมกัน ดังนั้นจึงนิยมจัดเป็น ชุด (Battery) แต่ละชุดประกอบด้วยความสามารถหลายด้าน

  11. 1. ทฤษฎีองค์ประกอบเดี่ยว(Uni – factor theory) 1.1 ผู้คิดทฤษฎี Binet and Simon. 1905 1.2 แบบทดสอบ วัดเชาว์ปัญญาหรือ IQ (Intelligence Quotient) 1.3 ลักษณะการวัด วัดโครงสร้างรวมเป็นความสามารถ ทั่วไป G

  12. 2. ทฤษฎีสององค์ประกอบ (Bi – factor theory) 2.1 ผู้คิดทฤษฎี Charles Spearman . 1927 2.2 แบบทดสอบ Analogies Completion Understanding Paragraphs Opposites Instructions Resemblances Inferences

  13. 2.3 ลักษณะการวัด วัดโครงสร้างทางสมองเป็นสอง องค์ประกอบ คือ 2.3.1 องค์ประกอบรวม (G – factor) 2.3.2 องค์ประกอบเฉพาะ (S – factor) S3 G S1 S2

  14. ทฤษฎีหลายองค์ประกอบ (Multiple-Factor Theory) 1.1 ผู้นำทฤษฎี L.L. Thurstone. 1933 1.2 แบบทดสอบ ใช้วัดสมรรถภาพหรือคุณลักษณะพื้นฐาน 1.3 ลักษณะการวัด วัดโครงสร้างพื้นฐาน 7 ด้าน คือ 1.3.1 ด้านภาษา (Verbal-factor) 1.3.2 ด้านความคล่องแคล่วในการใช้คำ (Word Fluency-factor) 1.3.3 ด้านจำนวน (Number-factor) 1.3.4 ด้านมิติสัมพันธ์ (Space-factor) 1.3.5 ด้านความจำ (Memory-factor) 1.3.6 ด้านความเร็วในการรับรู้ (Perception Speed-factor) 1.3.7 ด้านเหตุผล (R-factor)

  15. แบบทดสอบมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการวัดความถนัด 1. แบบทดสอบ จี เอ ที บี (GATB : General Aptitude Test Battery) 2. แบบทดสอบ ดี เอ ที (DAT : Differential Aptitude Test) 3. แบบทดสอบ เอฟ เอ ซี ที (FACT : Flanagan Aptitude Classification Test)

  16. 1. แบบทดสอบ จี เอ ที บี (GATB : General Aptitude Test Battery) กรมแรงงานในประเทศสหรัฐ สร้างแบบทดสอบชุดนี้เพื่อใช้วัดงานเฉพาะด้าน ใช้วัดนักเรียนเกรด 9-12 และผู้ใหญ่ เพื่อใช้ในการให้คำปรึกษาเกี่ยวกับอาชีพ มีแบบทดสอบ 12 ฉบับ วัด 9 องค์ประกอบ ดังนี้ 1. เชาวน์ปัญญา ประกอบด้วยแบบทดสอบ คำศัพท์ เหตุผลทางคณิตศาสตร์ และภาพสามมิติ 2. ความถนัดทางภาษา ใช้แบบทดสอบคำศัพท์ 3. ความถนัดทางตัวเลข ใช้แบบทดสอบคำนวณรวมกับเหตุผลทางคณิตศาสตร์ 4. ความถนัดมิติสัมพันธ์ ใช้แบบทดสอบภาพสามมิติ 5. การรับรู้ฟอร์ม ใช้แบบทดสอบ จับคู่เครื่องมือ กับ จับคู่ภาพทางเรขาคณิต 6. การรับรู้ทางเสมียน ใช้แบบทดสอบเปรียบเทียบชื่อ 7. การประสานงานกล้ามเนื้อ ใช้แบบทดสอบทำเครื่องหมาย 8. ความคล่องแคล่วในการใช้นิ้วมือ ใช้แบบทดสอบการรวมชิ้นส่วน และแยกชิ้นส่วน 9. ความคล่องแคล่วในการใช้มือ ใช้แบบทดสอบการย้ายที่และใส่กลับคืน

  17. 2. แบบทดสอบ ดี เอ ที (DAT : Differential Aptitude Test ) ผู้สร้างคือ Bennett สร้างขึ้นใช้ในการแนะแนวทางการศึกษา และอาชีพของนักเรียนเกรด 8-12 ประกอบด้วยแบบทดสอบ 8 ฉบับ ดังนี้ 1. เหตุผลทางภาษา 2. การใช้ภาษา 3. สะกดคำ 4. ความสามารถทางตัวเลข 5. เหตุผลทางนามธรรม 6. มิติสัมพันธ์ 7. เหตุผลเชิงจักรกล 8. ความเร็วและแม่นยำทางเสมียน

  18. 3. แบบทดสอบ เอฟ เอ ซี ที (FACT : Flanagan Aptitude Classification Test ) ผู้สร้างคือ Flanagan สร้างขึ้นใช้วัดความถนัดในการประกอบอาชีพต่าง ๆ ถึง 38 อาชีพ วิเคราะห์จาก ผู้ประสบผลสำเร็จ และล้มเหลวจากอาชีพ จัดทำเป็น แบบทดสอบ 19 ฉบับ และใช้วัดอาชีพต่าง ๆ ดังสรุป ในตาราง ดังนี้

  19. ขั้นตอนการสร้าง แบบทดสอบ • กำหนดจุดมุ่งหมายในการสร้าง • ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง • กำหนดกรอบของการวัด • นิยามสิ่งที่ต้องการวัด • เขียนข้อสอบ • หาค่า IOC • คัดเลือกและปรับปรุงข้อสอบ • ทดลองใช้ครั้งที่ 1-3 • หาค่า p, r และความเชื่อมั่น • จัดทำรูปเล่มและคู่มือการใช้

  20. แบบประเมินความเที่ยงตรงแบบประเมินความเที่ยงตรง คำชี้แจง แบบประเมินความเที่ยงตรง จัดทำขึ้นเพื่อตรวจสอบความสอดคล้อง ของข้อสอบกับนิยามสิ่งที่ต้องการวัด (นิยามศัพท์) โดยมีเกณฑ์ ในการประเมิน ดังนี้ +1 แทน แน่ใจว่าข้อสอบวัดได้สอดคล้องกับนิยาม 0 แทน ไม่แน่ใจว่าข้อสอบวัดได้สอดคล้องกับนิยาม -1 แทน แน่ใจว่าข้อสอบวัดได้ไม่สอดคล้องกับนิยาม ข้อสอบ ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ +1 0 -1

  21. การหาค่า IOC เมื่อ IOC = ดัชนีความสอดคล้องของข้อสอบกับนิยาม = ผลรวมคะแนนประเมินของผู้เชี่ยวชาญ N = จำนวนผู้เชี่ยวชาญ * ค่า IOC ตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป ถือว่าข้อสอบวัดได้สอดคล้องกับนิยาม

  22. การหาค่าความยากและอำนาจจำแนกการหาค่าความยากและอำนาจจำแนก P = (H+L)/N เมื่อ P = ค่าความยาก r = ค่าอำนาจจำแนก H = จำนวนคนกลุ่มสูงที่ตอบถูก L = จำนวนคนกลุ่มต่ำที่ตอบถูก N = จำนวนคนที่เข้าสอบทั้งหมด

  23. การวัดความถนัดด้านภาษาการวัดความถนัดด้านภาษา เป็นการวัดความสามารถเกี่ยวกับความเข้าใจในการรับรู้ความหมาย ในการสื่อสารทางภาษา คือ ความสามารถในการจับใจความสำคัญของ เรื่องราว คำพูด คำสนทนา รูปภาพ รวมทั้งการรู้ความหมายของคำหรือ ศัพท์ต่าง ๆ ตัวอย่าง เช่น ความหมายของคำ คำตรงข้าม ข้อใดมีความหมายตรงข้ามกับคำว่า ผลัก มากที่สุด ก. ยึด ข. ดัน ค. ดึง ง. ลาก จ. ติด ศัพท์ไม่เข้าพวก ข้อใดไม่เข้าพวก ก. ทองคำ ข. ทองเหลือง ค. ทองแดง ง. ทองขาว จ.ทองม้วน

  24. การวัดความถนัดด้านเหตุผลการวัดความถนัดด้านเหตุผล ความมีเหตุผลเป็นความสามารถในการไล่เรียงหารายละเอียดข้อเท็จจริง ปัญหาหรือสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อนำไปเปรียบเทียบ พิจารณา ไตร่ตรอง แล้วรวบรวมรายละเอียดเหล่านั้นไปตัดสินชี้ขาดในเรื่องเหล่านั้นอย่าง เหมาะสม ลักษณะดังกล่าวก็คือการใช้วิจารณาญาณเพื่อการวินิจฉัยนั่นเอง ตัวอย่าง เช่น แบบอุปมาอุปไมย ชาย หญิง พ่อ……. ก. แม่ ข. ลุง ค. พี่ ง. ลูก จ. ป้า

More Related