1 / 44

ขอบเขตการบรรยาย

ขอบเขตการบรรยาย. ความเป็นมา. เหตุผล และ เจตนารมย์ของกฎหมาย. ประโยชน์ และ ผลกระทบ. กฎหมายข้อมูลข่าวสาร. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540. สำนักงานปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลฉวาง. วิสัยทัศน์ ( Vision ). รัฐรู้อะไร ปชช. มีสิทธิรับรู้ในสิ่งนั้น

erin-scott
Download Presentation

ขอบเขตการบรรยาย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ขอบเขตการบรรยาย ความเป็นมา เหตุผล และ เจตนารมย์ของกฎหมาย ประโยชน์ และ ผลกระทบ กฎหมายข้อมูลข่าวสาร คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ

  2. พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 สำนักงานปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลฉวาง

  3. วิสัยทัศน์ (Vision) รัฐรู้อะไร ปชช. มีสิทธิรับรู้ในสิ่งนั้น ได้ภายใต้สิทธิเสรีภาพตาม ขอบเขตของ กม. โดยให้องค์กร ปชช. มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ในการรับทราบข้อมูลข่าวสาร

  4. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 58 มาตรา 34 • พ.ร.บ.คณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ.2522 • พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางการปกครอง พ.ศ.2539 • พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539

  5. รธน. แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ม. 58บัญญัติว่า “บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับทราบข้อมูล หรือข่าวสารสาธารณะในครอบครองของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่นเว้นแต่การเปิดเผยข้อมูลนั้นจะกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยของประชาชนหรือส่วนได้เสียอันพึงได้รับความคุ้มครองของบุคคลอื่น ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ”

  6. รธน. แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ม. 34 บัญญัติว่า “สิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเป็นอยู่ส่วนตัว ย่อมได้รับความคุ้มครอง การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลาย ซึ่งข้อความหรือภาพไม่ว่าด้วยวิธีใด ไปยังสาธารณชน อันเป็นการละเมิดหรือกระทบถึงสิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเป็นอยู่ส่วนตัวจะกระทำมิได้ เว้นแต่กรณีที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชน””

  7. เจตนารมณ์แห่ง พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารฯ กำหนดสิทธิได้รู้ของประชาชนให้แจ้งชัด ระบบราชการ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ป้องกันการทุจริต เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองสามารถแสดงความเห็น / ใช้สิทธิทางเมืองได้ถูกต้อง

  8. ปรัชญาแห่งกฎหมาย “รัฐรู้อะไร ประชาชนต้องรู้ในสิ่งนั้น”

  9. หลักการของกฎหมาย cการเปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น cให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล c “สิทธิรับรู้” ไม่ต้องมีส่วนได้เสีย

  10. วิธีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารวิธีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร &การลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา การจัดให้ประชาชนได้ตรวจดู -การบริการตามคำขอเฉพาะราย มีกฎหมายเฉพาะกำหนดวิธีการเปิดเผยไว้ (ม.10) หมายเหุต : หากมีส่วนที่ต้องห้ามมิให้เปิดเผย ให้ลบ / ตัดทอนข้อความส่วนนั้น

  11. โครงสร้างของกฎหมาย ตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร พ.ศ.2540 - หลักทั่วไป - หมวด 1 : การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร - หมวด 2 : ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย - หมวด 3 : ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล - หมวด 4 : เอกสารประวัติศาสตร์ - หมวด 5 : คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ - หมวด 6 : คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร - หมวด 7 : บทกำหนดโทษ - บทเฉพาะกาล

  12. สาระสำคัญของกฎหมาย ความหมาย หน่วยงานของรัฐ ข้อมูลข่าวสารราชการ ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล เอกสารประวัติศาสตร์ สิทธิในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารราชการ ความรับผิดของเจ้าหน้าที่

  13. “หน่วยงานของรัฐ” หมายถึง ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ศาล เฉพาะในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี องค์กรควบคุมการประกอบวิชาชีพ หน่วยงานอิสระของรัฐ และหน่วยงานอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง “เจ้าหน้าที่” หมายถึง ผู้ซึ่งปฏิบัติงานให้แก่หน่วยงานของรัฐ

  14. ความหมาย ข้อมูล : ข้อเท็จจริง หรือสิ่งที่ถือ หรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริงข่าวสาร : ข้อความที่ส่งมาเพื่อสื่อสาร ให้รู้เรื่องกัน

  15. ความหมายของข้อมูลข่าวสารของราชการตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 • “ข้อมูลข่าวสาร” หมายความว่า สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราวข้อเท็จ ข้อมูลหรือสิ่งใดๆ ไม่ว่าจะสื่อความหมายนั้นจะทำได้โดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผ่านวิธีการใด ๆ และไม่ว่าจะได้จัดทำไว้ในรูปของเอกสาร แฟ้ม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถ่ายฟิล์ม การบันทึกภาพ หรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร์หรือวิธีอื่นใดที่ทำให้สิ่งที่บันทึกไว้ปรากฏได้ • “ข้อมูลข่าวสารของราชการ” หมายความว่า ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินงานของรัฐหรือข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเอกชน

  16. ประเภทของข้อมูลข่าวสารราชการประเภทของข้อมูลข่าวสารราชการ ข้อมูลข่าวสารที่ต้องเปิดเผยเป็นการทั่วไป ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล เอกสารประวัติศาสตร์

  17. ข้อมูลข่าวสารที่ต้องเปิดเผยเป็นการทั่วไปข้อมูลข่าวสารที่ต้องเปิดเผยเป็นการทั่วไป ข้อมูลตาม ม.7 : ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา ข้อมูลตาม ม.9 : จัดเตรียมไว้ในสถานที่ที่กำหนด ข้อมูลราชการอื่นทั่วไป : ให้ประชาชนยื่นคำขอ

  18. ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย ข้อมูลตาม ม.14 : ห้ามเปิดเผย (ข้อมูลเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์) ข้อมูลตาม ม.15 : ใช้ดุลยพินิจเปิด / ปิด ได้ (มี 7 ลักษณะ) ประกอบด้วย ข้อมูลตาม ม.16 : ใช้ดุลยพินิจ + (กำหนดชั้นความลับ) ระเบียบรักษาความลับฯ

  19. ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง : เจ้าของมีสิทธิ 100% ข้อมูลของผู้อื่น : ห้ามเปิดเผย มีข้อยกเว้นให้เปิดเผยได้ตาม ม. 24 1. เจ้าของข้อมูลยินยอมเป็นหนังสือ 2. ต่อหอจดหมายเหตุเพื่อเก็บรักษา 3. ต่อเจ้าหน้าที่เพื่อป้องกันการฝ่าฝืนกฎหมาย 4. กรณีจำเป็นเพื่อป้องกัน / ระงับปัญหาของบุคคล 5. ต่อบุคคลที่มีอำนาจตามกฎหมาย

  20. นิยามข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล องค์ประกอบของข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล สิ่งที่ทำให้รู้ตัวผู้นั้นได้ สิ่งเฉพาะตัว ของบุคคล

  21. ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล สิ่งเฉพาะตัวบุคคล สิ่งที่ทำให้รู้ตัวผู้นั้น เช่น เช่น ฐานะการเงิน ชื่อ-นามสกุล การศึกษา ลายพิมพ์นิ้วมือ ประวัติสุขภาพ แผ่นบันทึกลักษณะเสียง ประวัติอาชญากรรม รูปภาพ ประวัติการทำงาน ฯลฯ

  22. เอกสารประวัติศาสตร์ มาตรา 26 ส่งมอบหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เมื่อครบ กำหนด 75 ปี (มาตรา 14) 20 ปี (มาตรา 15) * ขอขยายเวลา ได้ คราวละ 5 ปี * ผู้มีอำนาจฯ ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 3 ขอเก็บไว้เองก็ได้

  23. ข้อมูลของหน่วยงานอื่น ให้หน่วยงานที่รับคำขอให้ คำแนะนำเพื่อไปยื่น คำขอต่อหน่วยงานที่ควบคุมดูแล ข้อมูลนั้น โดยไม่ชักช้า หากข้อมูลมีการกำหนดชั้นความลับได้ ให้ส่งคำขอนั้น ให้หน่วยงานผู้จัดทำข้อมูล นั้น… (มาตรา 12)

  24. ข้อมูลที่มีผลกระทบต่อผู้อื่นข้อมูลที่มีผลกระทบต่อผู้อื่น หากเปิดเผยข้อมูลที่อาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของผู้ใดให้แจ้งผู้นั้นคัดค้านการเปิดเผยภายในกำหนด การไม่รับฟังคำคัดค้าน ทำให้มีสิทธิอุทธรณ์ได้ (มาตรา 17)

  25. สิทธิของประชาชนตามกฎหมายสิทธิของประชาชนตามกฎหมาย สิทธิ “ได้รู้” ม. 7, 9, 11, 25 และ 26 สิทธิ “ได้รับคำแนะนำที่ถูกต้อง” ม. 12 สิทธิ “คัดค้านการเปิดเผย” ม. 17 สิทธิ “ร้องเรียน” ม. 13 สิทธิ “อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผย” ม. 18

  26. สิทธิได้รู้ จำแนกได้ ดังนี้ สิทธิรับรู้ตาม ม. 7 สิทธิเข้าตรวจดูตาม ม.9 สิทธิขอดูตาม ม.11 สิทธิได้รู้ข้อมูลส่วนบุคคลของตน สิทธิได้ศึกษา ค้นคว้า ข้อมูลประวัติศาสตร์

  27. วิธีการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของประชาชนวิธีการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของประชาชน รับรู้จากราชกิจจานุเบกษาโดยกฎหมาย ม.7 ตรวจดูด้วยตนเองในสถานที่ที่กำหนด ม.29 ยื่นคำขอดู เฉพาะเรื่อง เฉพาะราย ม.11

  28. หลักเกณฑ์การใช้สิทธิขอดูข้อมูลข่าวสารตามมาตรา 11 1. มีคำขอด้วยวาจา / ทำเป็นหนังสือ ฯลฯ 2. ต้องระบุข้อมูลข่าวสารพอเข้าใจได้ 3. เป็นข้อมูลข่าวสารทั่วไปนอกเหนือจาก ม.7 และ ม.9 4. เป็นข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่แล้ว 5. อาจจัดทำให้ใหม่ก็ได้ หากมิใช่เพื่อประโยชน์การค้า หรือเพื่อปกป้องคุ้มครองสิทธิ

  29. สิทธิได้รับคำแนะนำที่ถูกต้องสิทธิได้รับคำแนะนำที่ถูกต้อง มาตรา 12 ข้อมูลข่าวสารของราชการตามมาตรา 11 - ที่อยู่ในความควบคุมดูแลของส่วนกลางหรือส่วนสาขาของหน่วยงาน - หรืออยู่ในความควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐแห่งอื่น ให้หน่วยงานของรัฐที่รับคำขอให้คำแนะนำเพื่อไปยื่นคำขอต่อหน่วยงาน ของรัฐที่ควบคุมดูแลข้อมูลข่าวสารนั้นโดยไม่ชักช้า

  30. สิทธิคัดค้านการเปิดเผยสิทธิคัดค้านการเปิดเผย มาตรา 17 ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐเห็นว่า การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร อาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของผู้ใด ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐแจ้งให้ผู้นั้น เสนอคำคัดค้านภายในเวลาที่กำหนด ซึ่งต้องไม่น้อยกว่า 15 วัน หรือผู้ที่ทราบว่าการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการใดอาจกระทบถึง ประโยชน์ได้เสียของตน มีสิทธิคัดค้านการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้นได้ โดยทำเป็นหนังสือถึงเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบ

  31. สิทธิคัดค้านการเปิดเผย (ต่อ) ในกรณีที่มีการคัดค้าน เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบต้องพิจารณา คำคัดค้านและแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้คัดค้านทราบโดยไม่ชักช้า ในกรณีที่คำสั่งไม่รับฟ้งคำคัดค้าน เจ้าหน้าที่ของรัฐจะเปิดเผยข้อมูล ข่าวสารนั้นมิได้จนกว่าจะล่วงพ้นกำหนดเวลาอุทธรณ์ตามมาตรา 18 หรือจนกว่าคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารได้มีคำวินิจฉัย ให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้นได้ แล้วแต่กรณี

  32. สิทธิร้องเรียนเจ้าหน้าที่ / หน่วยงานของรัฐ การไม่ปฏิบัติ / ฝ่าฝืน พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารฯ การปฏิบัติล่าช้า ไม่ได้รับความสะดวก โดยไม่มีเหตุอันสมควร

  33. สิทธิอุทธรณ์ • คำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูล ตามมาตรา 15 • คำสั่งไม่รับฟังคำคัดค้าน ตามมาตรา 17, 25 • คำสั่งไม่แก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูล ตามมาตรา

  34. หน้าที่ของหน่วยงาน ทำให้ประชาชนได้รับสิทธิ โดยถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนด ปัญหาระบบการจัดเก็บและการรักษาความปลอดภัย ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงาน บริการที่เป็นเลิศด้านข้อมูลข่าวสาร กำหนดและเรียกเก็บค่าธรรมเนียม

  35. หน้าที่หน่วยงานของรัฐหน้าที่หน่วยงานของรัฐ 1. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร : มาตรา 7, 9 และ 11 : มาตรา 14, 15, 16 และ 24 2. ปกปิด / คุ้มครองข้อมูล 3. แจ้งผู้มีผลกระทบประโยชน์ได้เสีย (พิจารณาคัดค้าน) : มาตรา 17 : มาตรา 23 4. จัดระบบข้อมูลส่วนบุคคล : มาตรา 25 5. เปิดเผย / แก้ไขข้อมูลส่วนบุคคล : มาตรา 26 6. ส่งมอบเอกสารประวัติศาสตร์ : มาตรา 12 7. ชี้แนะ ให้คำแนะนำโดยไม่ชักช้า

  36. กระบวนการขอข้อมูลข่าวสารของราชการกระบวนการขอข้อมูลข่าวสารของราชการ คำขอ การพิจารณา / การเตรียมการ ทำคำสั่งเปิดหรือไม่เปิดเผยข้อมูล อุทธรณ์คำสั่ง / ร้องเรียน การพิจารณาของคณะกรรมการ วินิจฉัยให้แก้ไข / ยืนยันคำสั่ง

  37. ความรับผิดของเจ้าหน้าที่ความรับผิดของเจ้าหน้าที่ มาตรา 20 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารใดแม้จะเข้าข่าย ต้องมีความรับผิดตามกฎหมายใด ให้ถือว่า เจ้าหน้าที่ของรัฐไม่ต้องรับผิด (1) ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา 15 ถ้าเจ้าหน้าที่ของรัฐ ได้ดำเนินการโดยถูกต้องตามระเบียบตามมาตรา 16

  38. (2) ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา 15 ถ้าเจ้าหน้าที่ของรัฐในระดับตามที่กำหนดในกฎกระทรวง มีคำสั่งให้เปิดเผยเป็นการทั่วไปหรือเฉพาะแก่บุคคลใด เพื่อประโยชน์อันสำคัญยิ่งกว่าที่เกี่ยวกับประโยชน์สาธารณะ ชีวิต ร่างกาย สุขภาพ หรือประโยชน์อื่น ของบุคคล และคำสั่งนั้นได้กระทำโดยสมควรแก่เหตุ ในการนี้จะมีการกำหนดข้อจำกัดหรือเงื่อนไขในการใช้ข้อมูลข่าวสารนั้นตามความเหมาะสมก็ได้

  39. นรม. ประธานกรรมการ นร/ กห/กส/กค/กต/ มท/ พณ ปลัดกระทรวง….. เลขาธิการ…….. สคก/กพ/สมช/สภาผู้แทนราษฎร ผู้อำนวยการ….. สำนักข่าวกรองฯ /สำนักงบฯ ผู้ทรงคุณวุฒิ……. จากภาครัฐ และเอกชน 9 ท่าน กลไกในการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ

  40. อำนาจหน้าที่ (1) สอดส่อง ดูแล แนะนำการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ (2) ให้คำปรึกษาแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐหรือหน่วยงานของรัฐ (3) เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง หรือระเบียบ (4) พิจารณาและให้ความเห็นเรื่องร้องเรียนตามม. 13 (5) จัดทำรายงานการปฏิบัติตาม พรบ. เสนอ ครม. อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง (6) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กำหนดในพระราชบัญญัตินี้ (7) ดำเนินการตามที่ ครม. หรือ นรม. มอบหมาย (ม. 28)

  41. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ให้มีคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร สาขาต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ซึ่ง ครม. แต่งตั้งคณะหนึ่ง ๆ ประกอบด้วย บุคคลตามความจำเป็น แต่ต้องไม่น้อยกว่าสามคน

  42. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ที่ได้รับการแต่งตั้งแล้ว จำนวน 5 สาขา คณะกรรมการวินิจฉัย การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร 5 คณะ สาขา ด้านสังคมการบริหาร ราชการแผ่นดิน สาขา ด้านต่างประเทศ และความมั่นคงฯ สาขา ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ฯ สาขา ด้านการแพทย์ และสาธารณสุข สาขา ด้านเศรษฐกิจ และการคลัง

  43. อำนาจหน้าที่  พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ตาม ม. 14 หรือ ม. 15 หรือคำสั่งไม่รับฟังคำคัดค้าน ตาม ม. 17 และคำสั่งไม่แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูล ข่าวสารส่วนบุคคลตาม ม. 28  ให้ กขร. ส่งคำอุทธรณ์ให้คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผย ข้อมูลข่าวสารโดยคำนึงถึงความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ภายใน 7 วันนับแต่วันที่ได้รับคำอุทธรณ์ (เพื่อพิจารณาภายใน 30 วัน)

  44. ศูนย์ข้อมูลข่าวสารจังหวัดกาฬสินธุ์ศูนย์ข้อมูลข่าวสารจังหวัดกาฬสินธุ์ โทรศัพท์ 04381-5331, 0-4381-1695 โทรสาร 0-4381-1620 www.pockalasin.in.th

More Related