1 / 32

กรณีศึกษา

กรณีศึกษา. ระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ใน สำนักงานประกันสังคม (สปส.). วัตถุประสงค์ในการนำ RBMS มาใช้ใน สปส. เพื่อปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์การที่ให้ความสนใจในเรื่องของ ปัจจัยนำเข้า (Input) มาเป็นหน่วยงานที่มุ่งเน้นที่ผลสัมฤทธิ์ของงาน

erasto
Download Presentation

กรณีศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรณีศึกษา ระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ใน สำนักงานประกันสังคม (สปส.)

  2. วัตถุประสงค์ในการนำ RBMS มาใช้ใน สปส. • เพื่อปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์การที่ให้ความสนใจในเรื่องของปัจจัยนำเข้า (Input) มาเป็นหน่วยงานที่มุ่งเน้นที่ผลสัมฤทธิ์ของงาน • เพื่อให้ทราบถึงระดับการบรรลุผลสำเร็จของหน่วยงาน และสามารถอธิบายต่อผู้ที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่ให้ความสนใจได้ • เพื่อให้ได้ข้อมูลผลการปฏิบัติงานสำหรับ: การวางแผนงาน การบริหารงาน การจัดสรรทรัพยากร การพัฒนา/ปรับปรุงหน่วยงาน • เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานของทุกหน่วยงานได้ โดยมีมาตรฐาน รูปแบบเดียวกันในการวัดผลการปฏิบัติงาน • เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานมีส่วนร่วมในการบริหารองค์การ คือทราบว่ามีผลการปฏิบัติงานอย่างไร และจะทำอย่างไรให้หน่วยงานบรรลุผลสำเร็จ

  3. ขั้นตอนการวางระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ขั้นตอนการวางระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ กำหนดขอบเขตและจุดเน้นการวัดผล สร้างปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ และ ตัวชี้วัด จัดทำรายละเอียดข้อมูลนำเข้า ออกแบบระบบและเครื่องมือ ใช้ประมวลผลและการรายงานผล จัดทำรายละเอียดเตรียมการทดลอง จัดทำเครื่องมือการจัดเก็บข้อมูลการทำงาน ประเมินผล ทดลอง จัดทำคู่มือและ ฝึกอบรม ใช่ ขยายผล ไม่ใช่ ปรับปรุง

  4. การออกแบบระบบ RBMS

  5. RBMS ที่สำนักงานประกันสังคม • RBMS ที่ สปส. แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ • ระดับองค์การ: สำนักงานประกันสังคม • ข้อมูลภาพรวมสำหรับผู้บริหาร (รมต., ปลัดกระทรวง, เลขาธิการ,ผู้ที่เกี่ยวข้อง) • ระดับปฏิบัติการ : สำนักงานประกันสังคมจังหวัด /เขตพื้นที่ • ข้อมูลการปฏิบัติงานแต่ละแห่งสำหรับประกันสังคมจังหวัด และ ผู้บริหารสำนักงาน

  6. การออกแบบการวัดผลการปฏิบัติงานในระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ของ สปส. ง่ายต่อการใช้งาน ใช้ข้อมูลที่ สปส. มีอยู่เท่าที่จะทำได้ จำนวนของข้อมูลที่จะต้องเก็บใหม่ จะต้องมีจำนวนน้อยที่สุด วีธีการทางสถิติจะต้องถูกใช้เพื่อลดจำนวน การนับด้วยมือให้มากที่สุด งานที่ต้องทำเพิ่มเติมสำหรับเจ้าหน้าที่ สำนักงานประกันสังคมจะต้องน้อยที่สุด

  7. สาธารณชน ธนาคาร นายจ้าง พันธกิจ วิสัยทัศน์ รัฐบาล เจ้าหน้าที่ สปส. ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ ผู้ประกันตน โรงพยาบาล ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก วงจรการจัดการเชิงผลการปฏิบัติงาน ปรับปรุง วางแผน วัดผล ปฏิบัติงาน รูปแบบการวางระบบ RBM ในสปส. ผู้มีส่วนได้เสียประโยชน์

  8. พันธกิจของสำนักงานประกันสังคมพันธกิจของสำนักงานประกันสังคม “ ให้บริการทางด้านประกันสังคมที่มีคุณภาพสูงแก่สมาชิกและครอบครัว ซึ่งจะก่อประโยชน์ต่อประเทศและสังคมโดยรวม ”

  9. วิสัยทัศน์ (VISION) 2005 • เป็นองค์กรชั้นนำในการบริการทางด้านประกันสังคมอันเป็นที่ต้องการของสังคม ซึ่งจะบรรลุได้โดย • มีการบริหารองค์กรที่ดี • มีระบบสารสนเทศที่ครอบคลุมทั่วประเทศ • มีบุคลากรที่มีทักษะสูง • มีการบริหารกองทุนที่มีประสิทธิภาพ

  10. ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ หมายถึง ปัจจัยที่จำเป็นต่อความสำเร็จขององค์กรและเป็นปัจจัยที่สนับสนุนให้ สปส. บรรลุพันธกิจและวิสัยทัศน์ที่ตั้งเอาไว้ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม • ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จระดับองค์กร (สำนักงานประกันสังคม) • ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จระดับปฏิบัติการ (สำนักงานจังหวัด/สาขา)

  11. ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จระดับองค์กรของ สปส. • ความมั่นคงและปลอดภัยของกองทุน • ความสามารถในการบริหารและจัดการเกี่ยวกับข้อมูลปริมาณมาก • ความสามารถในการให้บริการ และจ่ายประโยชน์ ทดแทน • ความสามารถในการให้ประโยชน์ทดแทนที่เหมาะสมกับความสูญเสียและสภาพเศรษฐกิจ แก่สมาชิก • ความสามารถในการจูงใจให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมาย

  12. ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลักตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก • เป็นตัวชี้วัดที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้วัดผลความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานของ สปส. ว่า บรรลุพันธกิจ วิสัยทัศน์ และปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จที่ตั้งไว้หรือไม่ • KPI ต้องสั้น เข้าใจง่าย และเน้นที่วัตถุประสงค์หลักของ สปส. • KPIต้องมีความหมายและเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหาร และผู้เกี่ยวข้อง • KPI ต้องสามารถวัดได้ทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ • KPIสามารถคำนวณได้โดยใช้ข้อมูลพื้นฐานจากการนับ, วัด หรือแบบสอบถามที่จะต้องปฏิบัติโดย สปส.

  13. ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลักตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก แบ่งเป็น 4 มิติ ความสามารถในการปฏิบัติงานในภารกิจหลัก ให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน ความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากรเมื่อเทียบกับผลผลิตที่ทำได้ ประสิทธิผล (Effectiveness) ประสิทธิภาพ (Efficiency) การให้บริการ (Customer Service) การปฏิบัติตามกฎหมาย (Compliance) ความสามารถในการ ให้บริการที่สะดวก รวดเร็ว เป็นที่พึงพอใจของผู้ใช้บริการ ความสามารถในการจูงใจให้นายจ้าง ผู้ประกันตนปฏิบัติตามกฎหมาย

  14. ตัวอย่าง ตัวชี้วัดด้านประสิทธิภาพ (Efficiency KPIs) ปัจจัยหลัก แห่งความสำเร็จ ตัวชี้วัด คะแนน ความสามารถในการบริหารและการจัดการข้อมูลที่มี ปริมาณมาก • ปริมาณงาน / ต้นทุน • ปริมาณงาน / ผู้ประกันตน • ผู้ประกันตน / เจ้าหน้าที่ • ต้นทุน / ผู้ประกันตน • ต้นทุน / ปริมาณงาน ประสิทธิภาพ

  15. ตัวอย่าง ตัวชี้วัดด้านประสิทธิผล ( Effectiveness KPIs) ปัจจัยหลัก แห่งความสำเร็จ ตัวชี้วัด คะแนน ความสามารถในการบริหารและการจัดการข้อมูลที่มี ปริมาณมาก • % งานที่เสร็จภายในเวลาที่กำหนด • % งานที่นำกลับมาทำใหม่ (ทำซ้ำ) • % ของความผิดพลาดในการบันทึกข้อมูล (การตรวจสอบคุณภาพ ประสิทธิผล

  16. ตัวอย่าง ตัวชี้วัดด้านการให้บริการ (Customer Service KPIs) ปัจจัยหลัก แห่งความสำเร็จ ตัวชี้วัด คะแนน ความสามารถในการให้บริการและจ่ายประโยชน์ทดแทน • % การให้บริการที่เสร็จภายในเวลา • % ของการร้องเรียน • % การรอคอยการบริการภายในเวลา • % ความพึงพอใจของผู้ประกันตนที่มารับบริการ การให้บริการ

  17. ตัวอย่าง ตัวชี้วัดด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย (Compliance KPIs) ปัจจัยหลัก แห่งความสำเร็จ ตัวชี้วัด คะแนน • % ของนายจ้างที่ปฏิบัติตามกฎหมาย • % ของนายจ้างขึ้นทะเบียนที่ไม่เคยจ่ายเงินสมทบ • % ของนายจ้างที่ขึ้นทะเบียนและจ่ายเงินสมทบครบถ้วน • % ของนายจ้างที่ขึ้นทะเบียนและจ่ายเงินสมทบไม่ครบถ้วน • % ของจ่ายเงินสมทบล่าช้า • % ของการค้างจ่ายเงินสมทบ การปฏิบัติตามกฎหมายของนายจ้าง • ความสามารถในการจูงใจให้นายจ้าง ปฏิบัติตามกฎหมาย • ความครอบคลุมของการจัดเก็บเงินสมทบ • การติดตามนายจ้างให้เข้าสู่ระบบประกันสังคม

  18. ตัวอย่าง สถิติสำคัญ • คือ ข้อมูลพื้นฐานที่แสดงถึงขอบเขตความรับผิดชอบ สถานภาพ และ • การปฏิบัติงาน ของสำนักงานฯ • ข้อมูลสถิติโดยทั่วๆ ไปได้แก่ จำนวนนายจ้าง, จำนวนผู้ประกันตน, จำนวนเงินสมทบที่เก็บได้, จำนวนเงินประโยชน์ทดแทนที่จ่ายไป, จำนวนค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงาน และจำนวนเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน • ข้อมูลสถานะของการขอประโยชน์ทดแทนได้แก่ จำนวนเรื่องที่ยื่น, จำนวนเรื่องที่วินิจฉัยเสร็จและที่อยู่ระหว่างการดำเนินงาน • ข้อมูลสถานะของทำงานในกระบวนงานหลักได้แก่ จำนวนงานเข้า - ออก ในแต่ละประเภทงาน ,จำนวนงานที่ในระหว่างดำเนินงานในแต่ละประเภทงาน(งานค้าง)

  19. ตัวอย่าง ข้อมูลที่ต้องการสำหรับการวัดผลการปฏิบัติงานของ สปส. จังหวัด • ข้อมูลการปฏิบัติงานในแต่ละประเภทงานที่ทำการวัดได้แก่ - ปริมาณงานที่ทำเสร็จภายในเวลาที่กำหนด - จำนวนงานเข้า - งานออก - งานค้าง - ปริมาณความผิดพลาด การทำซ้ำ • ข้อมูลการให้บริการลูกค้าได้แก่ - ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ - จำนวนการให้บริการที่เสร็จภายในเวลาที่กำหนดในแต่ละประเภทบริการ • ข้อมูลสถิติที่สำคัญ ที่แสดงถึงความรับผิดชอบ สถานะของ สปส.ได้แก่ - ข้อมูลด้านการเงิน : เงินสมทบ เงินประโยชน์ทดแทน - ทรัพยากรที่ใช้ในการดำเนินงาน : จำนวนบุคลากร ค่าใช้ในการดำเนินงาน

  20. หลักเกณฑ์ในการเลือกวิธีการเก็บข้อมูลหลักเกณฑ์ในการเลือกวิธีการเก็บข้อมูล ต้องคำนึงถึง • ความเป็นไปได้ในการดำเนินการ • ความเที่ยงตรง (ความถูกต้องแม่นยำ) และความน่าเชื่อถือ (ความสม่ำเสมอของข้อมูลตลอดระยะเวลาการเก็บข้อมูล) • ความมีประโยชน์ (สามารถใช้เพื่อการบริหารงานและการรายงานผลได้) • ต้นทุนในการดำเนินการ

  21. ตัวอย่าง กระบวนการปฏิบัติงาน งานเริ่ม งานเสร็จสิ้น หน่วยนับ งานทะเบียน นายจ้างขึ้นทะเบียน วันเวลาที่รับแบบสปส.1-01 วันเวลาที่บันทึกข้อมูลลงเครื่องเสร็จ 1 หน่วย 1 นายจ้าง ลูกจ้างขึ้นทะเบียน วันเวลาที่รับแบบสปส.1-03 วันเวลาที่บันทึกข้อมูลลงเครื่องเสร็จ 1 หน่วย 1 นายจ้าง เปลี่ยนแปลงข้อมูลนายจ้าง วันเวลาที่รับแบบสปส.6-15 วันเวลาที่บันทึกข้อมูลลงเครื่องเสร็จ 1 หน่วย 1 นายจ้าง เปลี่ยนแปลงข้อมูลลูกจ้าง วันเวลาที่รับแบบสปส.6-08, 6-09, 9-03/1, 6-10, 6-14 วันเวลาที่บันทึกข้อมูลลงเครื่องเสร็จ 1 หน่วย 1 นายจ้าง การออกบัตรรับรองสิทธิ์ วันเวลาที่รับแบบสปส.1-03, 9-02 วันเวลาที่บันทึกข้อมูลลงเครื่องเสร็จ 1 หน่วย 1 นายจ้าง กระบวนการปฏิบัติงานที่ต้องนับเพื่อกำหนดเป็นเวลามาตรฐาน

  22. ตัวอย่าง I001 แบบบันทึกและควบคุมการทำงาน (งานประโยชน์)

  23. ตัวอย่าง I002 แบบสอบถามแสดงความคิดเห็นด้านการบริการ

  24. ตัวอย่าง ป้อนข้อมูลเข้าโปรแกรม RBMS

  25. ประเภทของ Output ที่ได้จากโปรแกรม RBM 1.รายงานสรุปความคลาดเคลื่อน 2.รายงานผลการปฏิบัติงานประจำเดือน 3.รายงานแนวโน้มผลการปฏิบัติงาน 4.รายงานเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงาน

  26. Designing an RBMS - a case study - Social Security Office Danger sign

  27. Designing an RBMS a case study - Social Security Office ตัวอย่าง

  28. จังหวัด/สาขา ข้อมูลการ ปฏิบัติงานของ จังหวัด/สาขา ข้อมูลการ ปฏิบัติงานของ จังหวัด/สาขา จังหวัด/สาขา สำนักงานใหญ่ ข้อมูลการ ปฏิบัติงานของ สำนักงาน สปส. เก็บรวบรวม ข้อมูล เก็บรวบรวม ข้อมูล โปรแกรม RBMS ที่จังหวัด/สาขา โปรแกรม RBMS ที่จังหวัด/สาขา เก็บรวบรวม ข้อมูล โปรแกรม RBMS ที่สำนักงานใหญ่ วิเคราะห์ ข้อมูล วิเคราะห์ ข้อมูล ผลการ ปฏิบัติงาน จังหวัด/สาขา ผลการ ปฏิบัติงาน จังหวัด/สาขา วิเคราะห์ ข้อมูล ผลการ ปฏิบัติงาน สำนักงาน สปส. การปฏิบัติงานในระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์

  29. ขั้นตอนการวัดผลการปฏิบัติงานขั้นตอนการวัดผลการปฏิบัติงาน ตั้งเป้าหมาย สร้างแผนการปฏิบัติงาน ที่เหมาะสมกับเป้าหมาย ดำเนินการปฏิบัติ งานตามแผน เก็บข้อมูล ผลการปฏิบัติงาน ป้อนข้อมูลเข้า โปรแกรม RBM วิเคราะห์ผล รายงานผล

  30. เงื่อนไขสู่ความสำเร็จของการทำ RBM ใน สปส. • ผู้บริหารมีความมุ่งมั่นและให้การสนับสนุนการดำเนินงาน • ความรู้สึกเป็นเจ้าของ ความเข้าใจ และการยอมรับ ในระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ของทุกคนในสำนักงาน • ความถูกต้องของข้อมูล • การมีส่วนร่วมในขั้นตอนการแปรผล การวิเคราะห์ผล และจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานรายเดือน • การนำผลที่ได้จากรายงาน ไปปรับปรุงการดำเนินงานของหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลเพิ่มขึ้น

  31. ประโยชน์ของ RBMS ต่อ สปส. • ผู้บริหารมีข้อมูลสำหรับการตัดสินใจ และนำเสนอต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง • เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ระบบการประเมินผลงานมีความชัดเจนสามารถวัดได้ เหมือนที่ภาคเอกชนประเมินผลกำไร • เป็นเครื่องมือเทียบผลการปฏิบัติงานภายในองค์การ (Internal Benchmarking) • ก่อให้เกิดการปรับปรุงประสิทธิภาพภายในหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง ทั้งในส่วนของพฤติกรรมบุคคลและกระบวนการทำงาน • ก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการบริหารองค์การแบบ Bottom Up • ช่วยให้ทราบความต้องการของผู้ใช้บริการ ความพึงพอใจต่อการบริการของหน่วยงาน

  32. Q & A

More Related