1 / 41



. ยุทธศาสตร์กรมการปกครอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 - 2554 ฉบับทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ. 2553. โครงสร้างกรมการปกครอง. โครงสร้างกรมการปกครอง. ผชช. ด้านความมั่นคง. วิทยาลัยการปกครอง. อธิบดี. ผชช. ด้านกฎหมาย. สำนักงานผู้ตรวจราชการกรม. รองอธิบดี.

emma-parks
Download Presentation



An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1.  ยุทธศาสตร์กรมการปกครอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 - 2554 ฉบับทบทวนปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

  2. โครงสร้างกรมการปกครองโครงสร้างกรมการปกครอง

  3. โครงสร้างกรมการปกครอง ผชช. ด้านความมั่นคง วิทยาลัยการปกครอง อธิบดี ผชช. ด้านกฎหมาย สำนักงานผู้ตรวจราชการกรม รองอธิบดี สำนักการสอบสวนและนิติการ สำนักงานเลขานุการกรม กองตรวจสอบระบบบัญชี กองการเจ้าหน้าที่ สำนักกิจการความมั่นคงภายใน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักบริหารการทะเบียน กองคลัง ศูนย์สารสนเทศเพื่อการบริหาร และพัฒนางานปกครอง สำนักบริหารการปกครองท้องที่ กองการสื่อสาร สำนักยุทธศาสตร์และส่งเสริม การบริหารราชการอำเภอ สำนักอำนวยการกองอาสารักษาดินแดน ที่ทำการปกครองจังหวัด ปลัดจังหวัด (75) กลุ่มงานปกครอง จ่าจังหวัด กลุ่มงานความมั่นคง ป้องกันจังหวัด ฝ่ายการเงินและบัญชี เสมียนตราจังหวัด ที่ทำการปกครองอำเภอ นายอำเภอ (878) กลุ่มงาน/ฝ่ายบริหารงานปกครอง ปลัดอำเภอ ฝ่ายอำนวยความเป็นธรรม ปลัดอำเภอ ฝ่ายทะเบียนและบัตร ปลัดอำเภอ ฝ่ายความมั่นคง ปลัดอำเภอ งานการเงินและบัญชี เสมียนตราอำเภอ ที่มา : กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2545

  4. SWOTวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม ประเด็นยุทธศาสตร์

  5. SWOT กรมการปกครอง จุดอ่อน จุดแข็ง • บุคลากรเป็นผู้บริหารสูงสุดในพื้นที่ • มีฐานข้อมูลกลางที่หน่วยงานต่างๆ จำเป็นต้องใช้ • มีวัฒนธรรมการทำงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ • บุคลากรขาดขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน • ขาดงบประมาณสนับสนุนการทำงาน • ลักษณะของงานที่รับผิดชอบกว้างเกินไป ภัยคุกคาม โอกาส • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น รธน. พ.ร.บ.ระเบียบบริหารฯ • ปัญหาความไม่สงบเรียบร้อย • การยอมรับและเชื่อมั่นของรัฐบาล และส่วนราชการ • กระแสกระจายอำนาจให้ส่วนท้องถิ่น ทำให้ กรมการปกครองถูกลดภารกิจ • การถ่ายโอนภารกิจให้แก่ท้องถิ่น • การปฏิรูประบบราชการ 5

  6. แผนที่ยุทธศาสตร์กรมการปกครองแผนที่ยุทธศาสตร์กรมการปกครอง เป็นองค์กรสมรรถนะสูง มุ่งมั่นบูรณาการงานในพื้นที่และเป็นที่พึ่งของประชาชน เพื่อสังคมสงบสุข ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ การอำนวยความเป็นธรรม เป็นที่พึ่งของประชาชน ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ ประชาชนมีความปลอดภัย และอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข สังคมมีความสงบเรียบร้อย และปลอดภัย คุณภาพ การให้บริการ มีกลไกการรักษาความสงบเรียบร้อยที่มีประสิทธิภาพ การรักษาความมั่นคงภายในฝ่ายพลเรือนมีประสิทธิภาพ ประชาชนมีช่องทางการยุติปัญหาความเดือนร้อน บุคลากร ระบบ สถานที่ สนองตอบความต้องการของประชาชน • พัฒนากระบวนการให้บริการ • พัฒนาสถานที่และภูมิทัศน์ในการให้บริการ • สนับสนุนการปฏิบัติของฝ่ายปกครอง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ • พัฒนาประสิทธิภาพศูนย์อำนวยความเป็นธรรม • พัฒนาประสิทธิภาพการรักษาความสงบ • เรียบร้อยของฝ่ายปกครอง • พัฒนาประสิทธิภาพการรักษาความมั่นคง • ภายในผ่ายพลเรือนในพื้นที่ จชต. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : รักษาความสงบเรียบร้อย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : รักษาความมั่นคงภายใน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 : การพัฒนาการบริการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาการอำนวยความเป็นธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาการบริหารงานอำเภอบูรณาการและระบบการปกครองท้องที่ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ กบอ.เป็นกลไกหลักในการการบูรณาการ ร่วมกับภาคีการพัฒนาในพื้นที่ การบริหารงบประมาณ ของอำเภอมีประสิทธิภาพ บุคลากรมีขวัญกำลังใจ บุคลากรมีสมรรถนะ ในการปฏิบัติหน้าที่ พัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาคุณภาพ ชีวิตบุคลากร สนับสนุนทรัพยากร ทางการบริหาร ปรับโครงสร้าง อำเภอ พัฒนาบุคลากร ตามสมรรถนะ การพัฒนา องค์กร

  7. วิสัยทัศน์ :องค์กรสมรรถนะสูง มุ่งมั่นบูรณาการงานในพื้นที่ และเป็นที่พึ่งของประชาชน เพื่อสังคมสงบสุข พันธกิจ 1. อำนวยการและสนับสนุนการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของนายอำเภอ 2. เสนอแนะนโยบายและจัดทำแผน มาตรการ ติดตาม และประเมินผลด้านการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายใน 3. ดำเนินการเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงภายใน งานการข่าว งานกิจการชายแดน งานควบคุมดูแลชาวเขาและชนกลุ่มน้อย ผู้อพยพและ ผู้หลบหนีเข้าเมือง งานสัญชาติ และงานกิจการมวลชน 4. ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยกองอาสารักษาดินแดน 5. ดำเนินการพัฒนาบุคลากรในด้านการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายใน 6. ดำเนินการสื่อสารเพื่อการบริหารงาน การรักษาความสงบเรียบร้อย และความมั่นคงภายในประเทศ 7 ดำเนินการเกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบร้อย สืบสวน สอบสวนคดีอาญาในหน้าที่พนักงานฝ่ายปกครอง และอำนวยความเป็นธรรม ให้แก่ประชาชน 8. สนับสนุน ส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และการเลือกตั้งทุกระดับ 9. ดำเนินการพัฒนาและบริหารการปกครองท้องที่ในระดับอำเภอ กิ่งอำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน ตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะปกครองท้องที่ 10. ดำเนินการและพัฒนาระบบงานทะเบียนราษฎร งานบัตรประจำตัวประชาชน และงานทะเบียนอื่น รวมทั้ง การบริหารจัดการฐานข้อมูลกลาง เพื่อการใช้ประโยชน์ร่วมกันทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ค่านิยมองค์การ: นักปกครองที่เป็นที่รักของประชาชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการบริหารงานอำเภอบูรณาการและระบบการปกครองท้องที่ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาการอำนวยความเป็นธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 รักษาความมั่นคงภายใน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 รักษาความสงบเรียบร้อย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาการบริการ 1

  8. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการบริหารงานอำเภอบูรณาการและ ระบบการปกครองท้องที่

  9. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการบริหารงานอำเภอบูรณาการและระบบการปกครองท้องที่  เป้าประสงค์ 1.1 อำเภอเป็นศูนย์กลางการบริหารงานภาครัฐและบูรณาการงานทุกภาคส่วนอย่างมีประสิทธิภาพ 1.2 การปกครองระบอบประชาธิปไตยระดับฐานรากมีความเข้มแข็ง  ตัวชี้วัด • ร้อยละของจำนวนผู้มีสิทธิไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ส.ส. ทั่วประเทศ • ระดับความสำเร็จในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของคณะกรรมการหมู่บ้าน • ร้อยละความพึงพอใจของภาคีการพัฒนาที่มีต่อระบบการบริหารงานอำเภอแบบบูรณาการ • จำนวนหมู่บ้านที่มีระบบการสร้างความเข้มแข็งการปกครองระบอบประชาธิปไตย • ร้อยละของหมู่บ้านที่มีผู้มาใช้สิทธิเลือกผู้ใหญ่บ้านอย่างน้อยร้อยละ 65ของจำนวนผู้มีสิทธิเลือกและมีตัวตนอยู่จริงในวันเลือก  เป้าหมาย 52- 54 • 8,500 หมู่บ้าน • ระดับ 5 • ร้อยละ 70 • ร้อยละ 70 • ร้อยละ 90  กลยุทธ์ 1.2.4 สนับสนุนกิจกรรมวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย 1.2.5 พัฒนาความเข้มแข็งของคณะกรรมการหมู่บ้าน 1.2.1. สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการเลือกผู้นำท้องที่ 1.2.2 สนับสนุนการมีส่วนร่วมทางการเมืองในการเลือกตั้ง ส.ส. 1.2.3 สร้างอาสาสมัครต้นแบบประชาธิปไตยและขยายเครือข่ายประชาธิปไตย 1.1.1. พัฒนาทรัพยากรการบริหาร และระบบสารสนเทศของอำเภอ 1.1.2. ส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้างของอำเภอและกระบวนการจัด ทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาอำเภอ

  10. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการบริหารงานอำเภอบูรณาการและระบบการปกครองท้องที่  เป้าประสงค์ 1.3 ระบบงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรมการปกครองมีประสิทธิภาพสนับสนุนการปฏิบัติราชการ  ตัวชี้วัด • ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต • ร้อยละของจำนวนข้าราชการตามกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดที่ผ่านเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามระบบใหม่ • ร้อยละของความพึงพอใจของบุคลากรกรมการปกครองตามแผนการสร้างความผาสุก • ร้อยละของความสำเร็จของการจัดทำเส้นทางความก้าวหน้าของสายงานหลักของกรมการปกครอง  เป้าหมาย 52 - 54 • ร้อยละ 80 • ร้อยละ 60 • ระดับ 5 • ร้อยละ 70  กลยุทธ์ 1.3.2 พัฒนาระบบบริหารผลการปฏิบัติราชการและระบบสมรรถนะของกรมการปกครอง 1.3.3 พัฒนาข้าราชการตามสมรรถนะหลัก 1.3.4 สร้างเครือข่ายป้องกันและปราบปรามการทุจริตของกรมการปกครองให้เข้มแข็ง 1.3.1 ปรับปรุงการกำหนดตำแหน่งข้าราชการของกรมการปกครอง 1.3.5 ยกระดับคุณภาพชีวิตของบุคลากรกรมการปกครอง

  11. เป้าประสงค์ที่ 1.1 อำเภอเป็นศูนย์กลางการบริหารงานภาครัฐและบูรณาการงานทุกภาคส่วนอย่างมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 1.1.1 พัฒนาทรัพยากรการบริหารและระบบสารสนเทศของอำเภอ

  12. เป้าประสงค์ที่ 1.1 อำเภอเป็นศูนย์กลางการบริหารงานภาครัฐและบูรณาการงานทุกภาคส่วนอย่างมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 1.1.2 ส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้างของอำเภอและกระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาอำเภอ

  13. เป้าประสงค์ที่ 1.2 การปกครองระบอบประชาธิปไตยระดับฐานราก มีความเข้มแข็ง กลยุทธ์ที่ 1.2.1 สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการเลือกผู้นำท้องที่

  14. เป้าประสงค์ที่ 1.2 การปกครองระบอบประชาธิปไตยระดับฐานราก มีความเข้มแข็ง กลยุทธ์ที่ 1.2.2 สนับสนุนการมีส่วนร่วมทางการเมืองในการเลือกตั้ง ส.ส. กลยุทธ์ที่ 1.2.3 สร้างอาสาสมัครต้นแบบประชาธิปไตยและขยายเครือข่ายประชาธิปไตย

  15. เป้าประสงค์ที่ 1.2 การปกครองระบอบประชาธิปไตยระดับฐานราก มีความเข้มแข็ง กลยุทธ์ที่ 1.2.4 สนับสนุนกิจกรรมวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย กลยุทธ์ที่ 1.2.5 พัฒนาความเข้มแข็งของคณะกรรมการหมู่บ้าน

  16. เป้าประสงค์ที่ 1.3 ระบบงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรมการปกครองมีประสิทธิภาพสนับสนุนการปฏิบัติราชการ กลยุทธ์ที่ 1.3.1 ปรับปรุงการกำหนดตำแหน่งข้าราชการของกรมการปกครอง กลยุทธ์ที่ 1.3.2 พัฒนาระบบบริหารผลการปฏิบัติราชการและระบบสมรรถนะของกรมการปกครอง กลยุทธ์ที่ 1.3.3 พัฒนาข้าราชการตามสมรรถนะหลัก

  17. เป้าประสงค์ที่ 1.3 ระบบงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรมการปกครองมีประสิทธิภาพสนับสนุนการปฏิบัติราชการ กลยุทธ์ที่ 1.3.4 สร้างเครือข่ายป้องกันและปราบปรามการทุจริตของกรมการปกครองให้เข้มแข็ง กลยุทธ์ที่ 1.3.5 ยกระดับคุณภาพชีวิตของบุคลากรกรมการปกครอง

  18. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาการอำนวยความเป็นธรรม

  19. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาการอำนวยความเป็นธรรม  เป้าประสงค์ 2.1 การอำนวยความเป็นธรรมเป็นที่พึ่งของประชาชน  ตัวชี้วัด • ร้อยละของการคุ้มครองสิทธิประชาชนในกระบวนการยุติธรรมที่ได้ปฏิบัติตามขั้นตอนและระเบียบ ที่กฎหมายกำหนด • จำนวนอำเภอที่มีการดำเนินกระบวนการ ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท • ร้อยละของปัญหาเรื่องร้องทุกข์ ร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไขตามระยะเวลาที่กรมการปกครองกำหนด  เป้าหมาย 52- 54 • ร้อยละ 89.37 • 877 +B อำเภอ • ร้อยละ 98  กลยุทธ์ 2.1.2 พัฒนาบุคลากรระดับอำเภอ ตำบล/หมู่บ้าน ด้านการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท 2.1.3 ส่งเสริมบทบาทของพนักงานฝ่ายปกครองในกระบวนการยุติธรรม 2.1.1. พัฒนาระบบการอำนวยความเป็นธรรมเชิงรุก

  20. เป้าประสงค์ที่ 2.1 การอำนวยความเป็นธรรมเป็นที่พึ่งของประชาชน กลยุทธ์ที่ 2.1.1 พัฒนาระบบการอำนวยความเป็นธรรมเชิงรุก

  21. เป้าประสงค์ที่ 2.1 การอำนวยความเป็นธรรมเป็นที่พึ่งของประชาชน กลยุทธ์ที่ 2.1.2 พัฒนาบุคลากรระดับอำเภอ ตำบล/หมู่บ้าน ด้านการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท

  22. เป้าประสงค์ที่ 2.1 การอำนวยความเป็นธรรมเป็นที่พึ่งของประชาชน กลยุทธ์ที่ 2.1.3 ส่งเสริมบทบาทของพนักงานฝ่ายปกครองในกระบวนการยุติธรรม

  23. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 รักษาความมั่นคงภายใน

  24. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 รักษาความมั่นคงภายใน  เป้าประสงค์ 3.1 สนับสนุนและประสานการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 3.3 พัฒนาระบบการรักษาความมั่นคงภายใน 3.2 เสริมสร้างความมั่นคงในพื้นที่จังหวัด/อำเภอชายแดน  ตัวชี้วัด • ร้อยละของหมู่บ้านในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ผ่านเกณฑ์หมู่บ้านปลอดภัย • ร้อยละของอำเภอชายแดนที่มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในการเสริมสร้างความมั่นคงพื้นที่ชายแดน • ร้อยละของแผนงาน/โครงการด้านการรักษาความมั่นคงภายในที่สามารถดำเนินการบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้  เป้าหมาย 52 - 54 • ร้อยละ 90 • ร้อยละ 98 • ร้อยละ 70  กลยุทธ์ 3.2.1.พัฒนาประสิทธิภาพการสัญจรข้ามแดน 3.2.2. เสริมสร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน 3.2.3. เสริมสร้างความสงบเรียบร้อยและความ ปลอดภัยพื้นที่พักพิงชั่วคราวผู้หนีภัยจากการสู้รบ 3.3.1. เร่งรัดดำเนินการกำหนดสถานะบุคคลให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด 3.3.2. พัฒนาประสิทธิภาพด้านการข่าว 3.3.3. พัฒนาองค์กรศาสนาอิสลาม 3.3.4. ส่งเสริม สนับสนุนการบริหารงานหมู่บ้าน อพป.และพัฒนาประสิทธิภาพบุคลากรฝ่ายปกครองในการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ 3.1.1.เสริมสร้างความเข้มแข็งของหมู่บ้านในพื้นที่ จชต. 3.1.2. พัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพของบุคลากรฝ่ายปกครองและกลุ่มพลังมวลชนใน จชต. ในการดูแลรักษาความสงบเรียบร้อย

  25. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 รักษาความมั่นคงภายใน  เป้าประสงค์ 3.4 หมู่บ้าน/ชุมชนมีความเข้มแข็ง เอาชนะยาเสพติดอย่างยั่งยืน 3.5 ประชาชนมีความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์  ตัวชี้วัด • เสริมสร้างค่านิยม/กิจกรรมในด้านความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ • จำนวนอำเภอที่มีการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ • อัตราส่วนคดียาเสพติดต่อประชากรแสนคน  เป้าหมาย 52 -54 • ระดับ 5 • 878 อำเภอ • ไม่เกิน 45 คดี  กลยุทธ์ 3.4.1. สร้างกระบวนการค้นหาผู้เสพ ผู้ค้า และผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดที่มีประสิทธิภาพ และส่งเสริมการปฏิบัติงานด้านยาเสพติดร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐกับประชาชนในพื้นที่ 3.5.1. ขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 3.5.2. ปลุกพลังสร้างจิตสำนึกความจงรักภักดี

  26. เป้าประสงค์ที่ 3.1 สนับสนุนและประสานการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กลยุทธ์ที่ 3.1.1 เสริมสร้างความเข้มแข็งของหมู่บ้านในพื้นที่ จชต. กลยุทธ์ที่ 3.1.2 พัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพของบุคลากรฝ่ายปกครองและกลุ่มพลังมวลชนใน จชต. ในการดูแลรักษาความสงบเรียบร้อย

  27. เป้าประสงค์ที่ 3.2 เสริมสร้างความมั่นคงในพื้นที่จังหวัด/อำเภอชายแดน กลยุทธ์ที่ 3.2.1 พัฒนาประสิทธิภาพการสัญจรข้ามแดน กลยุทธ์ที่ 3.2.2 เสริมสร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน กลยุทธ์ที่ 3.2.3 เสริมสร้างความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยพื้นที่พักพิงชั่วคราวผู้หนีภัยจากการสู้รบ

  28. เป้าประสงค์ที่ 3.3 พัฒนาระบบการรักษาความมั่นคงภายใน กลยุทธ์ที่ 3.3.1 เร่งรัดดำเนินการกำหนดสถานะบุคคลให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด กลยุทธ์ที่ 3.3.2 พัฒนาประสิทธิภาพด้านการข่าว

  29. เป้าประสงค์ที่ 3.3 พัฒนาระบบการรักษาความมั่นคงภายใน กลยุทธ์ที่ 3.3.3 พัฒนาองค์กรศาสนาอิสลาม กลยุทธ์ที่ 3.3.4 ส่งเสริม สนับสนุนการบริหารงานหมู่บ้าน อพป. และพัฒนาประสิทธิภาพบุคลากรฝ่ายปกครองในการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ

  30. เป้าประสงค์ที่ 3.4 หมู่บ้าน/ชุมชนมีความเข้มแข็ง เอาชนะยาเสพติดอย่างยั่งยืน กลยุทธ์ที่ 3.4.1 สร้างกระบวนการค้นหาผู้เสพผู้ค้าและผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดที่มีประสิทธิภาพ และส่งเสริมการปฏิบัติงานด้านยาเสพติดร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐกับประขาชนในพื้นที่

  31. เป้าประสงค์ที่ 3.5 ประชาชนมีความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ กลยุทธ์ที่ 3.5.1 ขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กลยุทธ์ที่ 3.5.2 ปลุกพลังสร้างจิตสำนึกความจงรักภักดี

  32. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 รักษาความสงบเรียบร้อย

  33. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 รักษาความสงบเรียบร้อย  เป้าประสงค์ 4.1 สถานประกอบการที่กรมการปกครองรับผิดชอบปฏิบัติตามกฎหมาย 4.2 สังคมมีความสงบเรียบร้อย ประชาชนมีความปลอดภัย และอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข  ตัวชี้วัด • ร้อยละของสถานประกอบการที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมการปกครองปฏิบัติ ตามกฎหมาย • ร้อยละของการชุมนุมโดยสงบในพื้นที่และ ไม่มีเหตุการณ์ร้ายแรงจนถึงขั้นต้องใช้กำลัง เข้าสลายการชุมนุม  เป้าหมาย 52 - 54 • ระดับ 5 • ร้อยละ 70  กลยุทธ์ 4.1.1. สร้างกระบวนการในการรักษาความสงบเรียบร้อยของฝ่ายปกครอง 4.1.2. พัฒนาศักยภาพการรักษาความสงบเรียบร้อยของฝ่ายปกครอง 4.1.3. เสริมสร้างจิตสำนึกของประชาชนและผู้ประกอบการเพื่อให้เกิดความร่วมมือในการปฏิบัติตามกฎหมายและศีลธรรมอันดี 4.2.1 เสริมสร้างศักยภาพสมาชิกกองอาสารักษาดินแดนให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติภารกิจ

  34. เป้าประสงค์ที่ 4.1 สถานประกอบการที่กรมการปกครองรับผิดชอบปฏิบัติตามกฎหมาย กลยุทธ์ที่ 4.1.1 สร้างกระบวนการในการรักษาความสงบเรียบร้อยของฝ่ายปกครอง กลยุทธ์ที่ 4.1.2 พัฒนาศักยภาพการรักษาความสงบเรียบร้อยของฝ่ายปกครอง

  35. เป้าประสงค์ที่ 4.1 สถานประกอบการที่กรมการปกครองรับผิดชอบปฏิบัติตามกฎหมาย กลยุทธ์ที่ 4.1.3 เสริมสร้างจิตสำนึกของประชาชนและผู้ประกอบการเพื่อให้เกิดความร่วมมือในการปฏิบัติตามกฎหมายและศีลธรรมอันดี

  36. เป้าประสงค์ที่ 4.2 สังคมมีความสงบเรียบร้อย ประชาชนมีความปลอดภัย และอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข กลยุทธ์ที่ 4.2.1 เสริมสร้างศักยภาพสมาชิกกองอาสารักษาดินแดนให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติภารกิจ

  37. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาการบริการ

  38. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาการบริการ  เป้าประสงค์ 5.3 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจด้านสถานที่ให้บริการ 5.2 ระบบการให้บริการสะดวก รวดเร็ว ทันสมัย 5.1 บุคลากรมีจิตสำนึกและสมรรถนะเพียงพอแก่การให้บริการ  ตัวชี้วัด • ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการด้านความสะดวก รวดเร็ว ทันสมัย • ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการด้านสถานที่ให้บริการ • ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการต่อผู้ให้บริการ • ร้อยละ 95 • ร้อยละ 95 • ร้อยละ 95  เป้าหมาย 52 - 54  กลยุทธ์ 5.1.1. พัฒนาบุคลกรให้มีทักษะ และจิตสำนึกด้านการบริการ 5.3.1. พัฒนาสถานที่และสภาพแวดล้อมให้ได้มาตรฐาน 5.2.1.พัฒนาระบบงานบริการให้มีประสิทธิภาพ

  39. เป้าประสงค์ที่ 5.1 บุคลากรมีจิตสำนึกและสมรรถนะเพียงพอแก่การให้บริการ กลยุทธ์ที่ 5.1.1 พัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ และจิตสำนึกด้านการบริการ

  40. เป้าประสงค์ที่ 5.2 ระบบการให้บริการสะดวก รวดเร็ว ทันสมัย กลยุทธ์ที่ 5.2.1 พัฒนาระบบงานบริการให้มีประสิทธิภาพ

  41. เป้าประสงค์ที่ 5.3 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจด้านสถานที่ให้บริการ กลยุทธ์ที่ 5.3.1 พัฒนาสถานที่และสภาพแวดล้อมให้ได้มาตรฐาน

More Related